Page 14 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 14

วงปพ่ี ําทยน์ ํางหงสเ์ ปน็ วงประโคมลํา ดบั ที่ ๒ เหตทุ ช่ี อ่ื วํา่ วงปพ่ี ําทยน์ ํางหงสเ์ พรําะเลน่ เพลง เรื่องนํางหงส์ ซึ่งเริ่มต้นด้วยเพลงพรําหมณ์เก็บหัวแหวน และตํามด้วยเพลงอ่ืนๆ อีก (กรมศิลปํากร ๒๕๖๐) เคร่ืองดนตรีในวงประกอบด้วยปี่ชวํา ระนําดเอก ระนําดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ตะโพน กลองทัด และฉิ่ง มักอธิบํายว่ําวงปี่พําทย์นํางหงส์เป็นวงท่ีบรรเลงในงํานศพของสํามัญชนมําก่อน ตอ่ มําสมเด็จพระเทพรัตนรําชสุดําฯ สยํามบรมรําชกุมํารี ได้โปรดเกล้ําให้มีกํารรื้อฟื้นนําวงปี่พําทย์ นํางหงสม์ ําบรรเลงรว่ มกํารประโคมยํา่ ยํามอกี ครงั้ นบั ตงั้ แตง่ ํานพระบรมศพสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทรํา บรมรําชชนนี อย่ํางไรก็ดี สมเด็จฯ กรมพระยําดํารงรําชํานุภําพทรงอธิบํายว่ํา เครื่องประโคมที่ใช้ เฉพําะงํานพระรําชพิธีเห็นมีอย่ํางเดียวแต่ปี่พําทย์นํางหงส์ อันมีผู้คิดกลองคู่บัวลอยเข้ําประสมวง กับปี่พําทย์ กํารใช้ปี่พําทย์มอญบรรเลงในงํานพระบรมศพในงํานหลวงเริ่มมีคร้ังแรกเมื่องําน พระบรมศพสมเด็จพระเทพศิรินทรําบรมรําชินีเท่ําน้ัน ทําให้คนภํายนอกคิดไปว่ําถ้ําจะจัดงํานศพ อย่ํางผู้ดีต้องมีปี่พําทย์มอญ (สุจิตต์ วงษ์เทศ ๒๕๕๖: ๒๓-๒๔)
ถํา้ เปน็ เชน่ นนั้ แสดงวํา่ เพลงเรอื่ งนํางหงสท์ บี่ รรเลงดว้ ยวงปพ่ี ําทยน์ ํางหงสเ์ ปน็ ดนตรงี ํานศพ แต่ดั้งเดิม ในบทควํามของหนังสือเล่มน้ี สุจิตต์ วงษ์เทศ ให้ควํามเห็นว่ํา นํางหงส์เป็นทั้งสัญลักษณ์ ของผู้หญิงและสัญลักษณ์ของนกบนฟ้ําจึงสัมพันธ์กับพิธีศพ ถ้ําคิดต่อไปด้วยจะเห็นได้ว่ําเพลงที่ เรมิ่ เลน่ คอื เพลงพรําหมณเ์ กบ็ หวั แหวน ซงึ่ พรําหมณน์ อ้ี ําจเปน็ รอ่ งรอยของโกณฑณิ ยะ ปฐมกษตั รยิ ์ ของรัฐฟูนัน
ส่วนที่สาม กระบวนแห่พระบรมศพและงานพระเมรุ
เมอ่ื ตงั้ พระโกศครบตํามกํา หนดและพระเมรสุ รํา้ งเสรจ็ จะมกี ํารอญั เชญิ พระบรมศพสพู่ ระเมรุ กอ่ นหนํา้ กํารพระรําชทํานเพลงิ พระบรมศพนมี้ พี ระรําชพธิ ที ปี่ ฏบิ ตั เิ ปน็ กํารภํายใน คอื กํารเผําพระบพุ โพ หรอื กํารเผํานํา้ เหลอื ง กลํา่ วคอื ในสมยั เมอื่ ยงั ใชพ้ ระโกศ จะมกี ํารเจําะชอ่ งใตฐ้ ํานพระโกศใหพ้ ระบพุ โพ (นํา้ เหลอื ง) ไหลลงมําตํามทอ่ ลงสถู่ ํา้ พระบพุ โพ (ตมุ่ ดนิ เผํา) ทว่ี ํางไวท้ พี่ นื้ พระมหําปรําสําท (หลบอยู่ ในพระแท่นต้ังพระโกศ) เม่ือถึงเวลําเคลื่อนย้ํายพระบรมศพสู่พระเมรุ จะมีกํารพระรําชทํานเพลิง พระบุพโพก่อน โดยจะมีกระบวนอัญเชิญเช่นเดียวกับพระบรมศพ กํารเผําพระบุพโพนี้จะกระทําใน พระเมรุเฉพําะเรียกว่ํา เมรุพระบุพโพ โดยสําหรับพระมหํากษัตริย์หรือพระบรมวงศํานุวงศ์ช้ันสูง จะกระทํา ทวี่ ดั มหําธําตุ โดยทพี่ ระบพุ โพจะนํา ใสก่ ระทะปนกบั นํา้ มนั เผําไปพรอ้ มกนั จํากนน้ั เมอื่ เผําเสรจ็ จะนําพระบุพโพไปลอยพระอังคําร ยกเว้นกรณีพระบุพโพของพระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ํา เจ้ําอยู่หัวที่ฝังพระอังคํารใต้ฐํานพระพุทธชินรําช ซึ่งภํายหลังท้ังธรรมเนียมกํารลอยพระอังคํารและ ฝังพระบุพโพนี้ได้ยกเลิกไป
เรมิ่ แรกกอ่ นหนํา้ วนั งํานจะมกี ํารอญั เชญิ พระบรมสํารรี กิ ธําตหุ รอื พระบรมธําตแุ หม่ ําสมโภช ทพ่ี ระเมรุ ในวนั รงุ่ ขนึ้ จะเปน็ กํารเชญิ พระบรมอฐั ขิ องพระรําชวงศอ์ อกมําสมโภชทพ่ี ระเมรุ หลงั จํากนี้ จึงเป็นกํารอัญเชิญพระบรมศพจํากพระบรมมหํารําชวังตํามเส้นทํางที่กําหนด
สํา หรบั ขน้ั ตอนกํารเคลอ่ื นพระบรมศพจะมกี ํารจดั รว้ิ กระบวนแหอ่ ยํา่ งสมพระเกยี รติ สํา หรบั กํารต้ังร้ิวกระบวนปรํากฏหลักฐํานตั้งแต่สมัยอยุธยําและสืบเนื่องมําจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์นี้ ซึ่งก็มีกํารปรับเปลี่ยนแตกต่ํางไปจํากสมัยอยุธยําพอควร เมื่อพิจํารณําจํากหลักฐํานที่เป็นภําพวําด
เสด็จสู่แดนสรวง
๑๒ ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   12   13   14   15   16