Page 13 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 13
นอกจํากพระสงฆ์แล้ว ยังมีธรรมเนียมกํารร้องไห้ในงํานศพเรียกว่ํา นํางร้องไห้ หรือ มอญ รอ้ งไห้ ปรํากฏหลกั ฐํานนตี้ งั้ แตส่ มยั อยธุ ยําดงั เชน่ ในคา ใหก้ ารขนุ หลวงหาวดั ทพ่ี บวํา่ ในงํานพระรําช พธิ พี ระบรมศพของพระเจํา้ อยหู่ วั บรมโกศมกี ํารเกณฑน์ ํางสนมกํา นลั มําเปน็ นํางรอ้ งไห้ ซง่ึ กํารรอ้ งไห้ นไ้ี มใ่ ชก่ ํารรอ้ งไหอ้ ยํา่ งปกตหิ ํากแตม่ ที ว่ งทํา นองดว้ ยกํารขบั รํา ทํา เพลงพรอ้ มไปกบั กํารประโคมฆอ้ ง กลองแตรสังข์และมโหรีปี่พําทย์ ในขณะที่รัชกําลท่ี ๕ ทรงอธิบํายว่ําผู้วํายชนม์ที่จะมีนํางร้องไห้ได้ จะต้องเป็นเจ้ํานํายในลําดับช้ันเจ้ําฟ้ํา ปกติแล้ววิธีกํารร้องต้องใช้ต้นเสียง ๔ คน โดยมีคําร้องเฉพําะ และมคี รู่ อ้ งรบั ประมําณ ๘๐-๑๐๐ คน ซงึ่ ลว้ นเปน็ นํางพระสนมและนํางกํา นลั ครงั้ สดุ ทํา้ ยทมี่ นี ํางรอ้ งไห้ ตํามรําชประเพณีคืองํานพระบรมศพพระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว เนื่องด้วยไม่ต้อง พระรําชหฤทัยรัชกําลที่ ๖ ด้วยทรงเห็นว่ํา “ให้รู้สึกรกหูเสียจริงๆ” เป็นไปได้ว่ําสําเหตุท่ีรัชกําลท่ี ๖ มิทรงโปรดอําจเป็นเพรําะนิยมถือปฏิบัติตํามธรรมเนียมงํานศพแบบตะวันตกท่ีเน้นควํามเงียบ ซ่ึง เป็นสัญลักษณ์ของควํามโศกเศร้ํา
ด้วยรําชวงศ์จักรีมีเชื้อสํายจีน ทําให้มีพิธีกงเต๊กหลวงเพื่อเป็นกํารบําเพ็ญพระรําชกุศล ด้วย พิธีกงเต๊กหลวงปรํากฏครั้งแรกในสมัยพระบําทสมเด็จพระจอมเกลํา้ เจ้ําอยู่หัวเม่ือทรงจัดงําน พระบรมศพพระบําทสมเด็จพระนั่งเกล้ําเจ้ําอยู่หัว เม่ือ พ.ศ.๒๓๙๕ ในพิธีกงเต๊กหลวงนี้ พระภิกษุ ชําวเวียดนําม (ญวน) ในนิกํายมหํายํานที่ต่อมําเรียกอนัมนิกําย เป็นผู้ที่ประกอบพิธีกรรมเป็นหลัก โดยแรกเริ่มมีองฮึงเจ้ําอําวําสแห่งวัดญวณตลําดน้อย (วัดอุภัยรําชบํารุง) ซ่ึงเป็นผู้ถวํายควํามรู้ เรอื่ งลทั ธมิ หํายํานแตค่ รงั้ เมอื่ รชั กําลท่ี ๔ ทรงผนวชอยู่ เปน็ ผปู้ ระกอบพธิ กี งเตก๊ หลวงนี้ ในระยะหลงั ได้มีกํารเปล่ียนแปลงด้วยผู้ประกอบพิธีจะใช้พระสงฆ์คณะจีนนิกํายมํากขึ้น ทั้งนี้เพรําะในสมัย รชั กําลที่ ๕ พระภกิ ษสุ กเหง็ มวี ตั รปฏบิ ตั เิ ปน็ ทเี่ คํารพของชําวจนี ในกรงุ เทพ แถบสํา เพง็ และเยําวรําช อย่ํางมําก พิธีกงเต๊กนี้ได้รับควํามนิยมในหมู่เจ้ํานํายอย่ํางสูงถึงขนําดที่รัชกําลที่ ๖ ได้ทรงระบุลงไป ในพินัยกรรมว่ําต้องจัดให้พระองค์หลังสวรรคต
ตลอดพระรําชพธิ พี ระบรมศพ จะมกี ํารใชด้ นตรใี นงํานพระบรมศพทส่ี ํา คญั คอื กํารประโคม ยํา่ ยําม และวงปพ่ี ําทยน์ ํางหงส์ สํา หรบั กํารประโคมยํา่ ยํามเลน่ โดยวงสงั ขแ์ ตรและวงปไ่ี ฉนกลองชนะ ซ่ึงจะประโคมสลับต่อเน่ืองกัน กํารประโคมน้ีจะกระทําทุก ๓ ชั่วโมงเร่ิมจําก ๖ นําฬิกําไปจบที่ ๒๔ นําฬิกํา เครื่องดนตรีสําคัญที่ในแง่ของพิธีกรรมคือกลองมโหระทึก ๒ ใบ ใช้เฉพําะงํานพระบรมศพ เท่ําน้ัน แสดงว่ําเป็นของสําคัญยิ่งสําหรับผู้นํา
ในทํางโบรําณคดี กลองมโหระทกึ ถอื เปน็ เครอื่ งดนตรสี ํา คญั ดงั ทกี่ ลํา่ วไปบํา้ งแลว้ เรมิ่ ผลติ เม่ือรําว ๒,๕๐๐ ปีมําแล้ว ค้นพบคร้ังแรกท่ีหมู่บ้ํานดองเซิน (ดองซอน) ประเทศเวียดนําม และพบ แพร่กระจํายท่ัวไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปกติใช้เล่นหลํายวัตถุประสงค์เช่น กํารขอฝน ทําให้ บนหน้ํากลองมีประติมํากรรมขนําดเล็กเป็นรูปกบหรือคํางคกประดับอยู่จึงมักเรียกชื่อว่ํากลองกบ ตเี ฉลมิ ฉลองเมอื่ ไดผ้ ลผลติ พชื พนั ธธ์ุ ญั ญําหํารอดุ มสมบรู ณ์ หรอื ใชต้ ใี นพธิ กี รรมเชน่ งํานแตง่ งํานและ งํานศพ ทํา ใหล้ วดลํายทตี่ กแตง่ จงึ เตม็ ไปดว้ ยรปู ศกั ดส์ิ ทิ ธเิ์ ชน่ เรอื สง่ วญิ ญําณ (ขวญั ผ)ี นก คนเลน่ ดนตรี และลํายคล้ํายพระอําทิตย์ที่บ้ํางตีควํามว่ําขวัญ นอกจํากน้ี กลองมโหระทึกยังใช้เป็นเครื่องประกอบ พิธีศพที่ฝังลงไปกับผู้นําเผ่ําเพรําะถือเป็นสัญลักษณ์ของอํานําจ (พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ ๒๕๕๘)
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๑๑
เสด็จสู่แดนสรวง