Page 16 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 16
ส่งวิญญําณเพ่ือนําไปสู่เมืองฟ้ํา เพรําะนําคเป็นสัญลักษณ์ของควํามตํายและยังเป็นสะพํานสํายรุ้ง เพอื่ ขนึ้ ไปสสู่ วรรค์ เทํา่ ทมี่ หี ลกั ฐํานพบวํา่ พระบรมศพสมเดจ็ พระไชยรําชําธริ ําชเมอื่ ถวํายพระเพลงิ แลว้ ได้อัญเชิญไปทํางน้ําด้วยเรือรูปหัวสัตว์ (นันทํา วรเนติวงศ์ และคณะ ๒๕๓๘) ดังนั้น จะพบได้ว่ําทั้ง ในกัมพูชํา ลําว และพม่ํา ซึ่งต่ํางก็นับถือพญํานําค จึงมีกํารทํารําชรถพญํานําคอัญเชิญพระบรมศพ ซึ่งคงเป็นคติควํามเช่ืออย่ํางเดียวกัน รําชรถจึงเป็นร่องรอยของกํารใช้เรือส่งวิญญําณที่ช่ํางโบรําณ หลงเหลอืไวเ้ป็นระบบเชิงสัญลักษณ์
วธิ กี ํารและแนวคดิ เกยี่ วกบั กระบวนแหพ่ ระบรมศพของไทยทอี่ ําจหมํายรวมถงึ ทง้ั อษุ ําคเนยน์ ี้ แตกต่ํางไปจํากของอินเดีย โดยจะเห็นได้ว่ํา ในคติของศําสนําพรําหมณ์ดั้งเดิมนั้นเม่ือกษัตริย์หรือ สํามญั ชนตําย กระบวนศพกลบั เปน็ ไปอยํา่ งเรยี บงํา่ ย อกี ทง้ั คนในกระบวนมกั มเี พยี งผชู้ ํายและญําติ เปน็ สว่ นใหญ่ นอกจํากนี้ กษตั รยิ แ์ บบอนิ เดยี ยงั ถอื วํา่ เปน็ ผทู้ มี่ อี ําตมนั บรสิ ทุ ธอ์ิ ยแู่ ลว้ จงึ ถอื วํา่ พระองค์ เปน็ เทวดําดว้ ยตวั เอง ในขณะท่ี ในสงั คมอษุ ําคเนยเ์ ชอื่ วํา่ กษตั รยิ เ์ มอื่ ผํา่ นพธิ พี รําหมณจ์ ะถอื วํา่ เปน็ เทพเจํา้ ทอี่ วตํารลงมํา และเมอื่ รบั คตศิ ําสนําพทุ ธทํา ใหถ้ อื วํา่ พระองคเ์ ปน็ พระโพธสิ ตั วท์ ลี่ งมําจตุ จิ ําก สวรรคช์ น้ั ดสุ ติ แนวคดิ ของศําสนําทงั้ สองนไี้ ดผ้ สมผสํานเขํา้ กบั คตคิ วํามตํายดงั้ เดมิ ของอษุ ําคเนยท์ ่ี เมอ่ื มคี นตําย จะมกี ํารเลน่ ดนตรรี อ้ งรํา ทํา เพลงเพอื่ เปน็ กํารเรยี กขวญั และหลอกลอ่ ขวญั ใหก้ ลบั เขํา้ รํา่ ง ด้วยเหตุน้ีเอง ทําให้กระบวนแห่งํานพระบรมศพของไทยมีควํามยิ่งใหญ่อลังกํารและเต็มไปด้วย เคร่ืองประกอบพระเกียรติยศเพ่ือเป็นกํารส่งเสด็จกษัตริย์กลับคืนสู่สรวงสวรรค์ ไม่ต่ํางกันกับ ในกระบวนแห่เทพเจ้ําในศําสนําพรําหมณ์ในวโรกําสสําคัญ
อย่ํางไรก็ตําม ครั้นถึงรัชสมัยพระบําทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ําเจ้ําอยู่หัว พระองค์ได้ทรง ยกเลิกกระบวนรูปสัตว์สังเค็ด เทวดําคู่แห่ และคนท่ีแต่งตัวแบบทหํารแบบโบรําณ แต่เปล่ียนมําใช้ กระบวนทหํารทงั้๔เหลํา่และในกระบวนแหพ่ระบรมศพพระบําทสมเดจ็พระจลุจอมเกล้ําเจ้ําอยหู่วั จํากพระที่นั่งอัมพรสถํานในพระรําชวังดุสิตทรงโปรดให้ทหํารยิงปืนใหญ่สลุต นับต้ังแต่สรงน้ํา พระบรมศพจนกระบวนเข้ําไปถึงพระบรมมหํารําชวัง และยังมีรํายละเอียดอ่ืนๆ อีกพอสมควร นอกจํากน้ีแล้ว ในสมัยรัชกําลท่ี ๖ ยังมีธรรมเนียมกํารใช้รําชรถปืนใหญ่ทรงพระบรมโกศเพิ่มเติม มําอกี ซงึ่ ทง้ั หมดนไี้ ดก้ ลํายมําเปน็ แบบแผนของงํานพระบรมศพในสมยั หลงั อยํา่ งไรกต็ ําม ในขณะที่ ในสมัยรัชกําลที่ ๖ นี้มีกํารปรับเปลี่ยนกระบวนแห่ แต่จะพบได้ว่ําในกระบวนแห่พระบรมศพ พระบําทสมเด็จพระนโรดมสุรํามฤต เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๓ ยังคงถือปฏิบัติตํามคติดั้งเดิมอยู่
กํารปรับเปล่ียนท่ีเกิดข้ึนในสมัยรัชกําลท่ี ๖ นี้เป็นผลโดยตรงมําจํากกํารรับอิทธิพลจําก ตะวันตกโดยเฉพําะจํากอังกฤษดังเช่นในงํานพระบรมศพของสมเด็จพระรําชินีนําถวิกตอเรียที่มี กํารใชร้ ําชรถปนื ใหญอ่ ญั เชญิ พระบรมศพ เชน่ เดยี วกบั กรณขี องกํารยกเลกิ กระบวนรปู สตั วห์ มิ พํานต์ และเทวดําโดยแทนที่ด้วยกระบวนทหํารนั้นก็สะท้อนถึงกํารพยํายํามทําให้กระบวนแห่พระบรมศพ มีควํามเป็นเรื่องทํางโลก (secular world) มํากขึ้น โดยเป็นกํารส่งเสด็จพระบรมศพในฐํานะท่ีเป็น กษัตริย์ผู้นํากองทัพและพสกนิกร
พระเมรุสร้ํางขึ้นภํายใต้คติเขําพระสุเมรุ ซึ่งเป็นศูนย์กลํางของจักรวําลและภพภูมิทั้งสําม ลกั ษณะทํางกํายภําพเชงิ อดุ มคตขิ องเขําพระสเุ มรปุ ระกอบดว้ ยเขําพระสเุ มรเุ ปน็ จอมเขํากงึ่ กลํางสงู
เสด็จสู่แดนสรวง
๑4 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ