Page 17 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 17
ที่สุด ล้อมรอบด้วยเขําสัตตบริภัณฑ์ ๗ ทิวสลับด้วยมหํานทีสีทันดร อีกทั้งมีทวีปทั้งส่ีและมหําสมุทร ท้ังสี่ประจําตํามทิศ เชิงเขําพระสุเมรุเป็นป่ําหิมพํานต์ ซึ่งเป็นที่อําศัยของสัตว์นํานําพันธุ์ ยอดเขํา พระสุเมรุเป็นที่ตั้งของสวรรค์ชั้นดําวดึงส์ ซึ่งมีพระอินทร์เป็นกษัตริย์ผู้ปกครอง ประทับในไพชยนต์ มหําปรําสําท พระองค์ยังทําหน้ําที่เป็นเทวรําชผู้อภิบําลโลก และคอยช่วยเหลือพระพุทธเจ้ํา ดังนั้น พระเมรคุ อื ปรําสําทไพชยนตอ์ นั ตงั้ อยบู่ นเขําพระสเุ มรนุ น่ั เอง นอกจํากนี้ ดว้ ยควํามตอ้ งกํารใหเ้ ทพเจํา้ ฮินดูกลํายมําเป็นส่วนหนึ่งของจักรวําลแบบพุทธ ทําให้มีกํารประดับตกแต่งพระเมรุด้วยเทวดํา ท้ําวจตุโลกบําล และตรีมูรติท้ังสํามองค์คือ พระนํารํายณ์ พระศิวะ และพระพรหมอีกด้วย
ควํามจริงแล้ว คติเขําพระสุเมรุน้ีก็คือกํารจําลองภูมิประเทศบริเวณเขําหิมําลัยและแผ่นดิน ที่แผ่รํายรอบออกไปจนจรดมหําสมุทรนั่นเอง นอกจํากนี้แล้ว ในอินเดียเองนั้นผู้นับถือศําสนํา พรําหมณแ์ ละพทุ ธจะไมท่ ํา พระเมรเุ พอื่ เผําศพดงั เชน่ ของทงั้ ไทย กมั พชู ํา และลําว หํากแตเ่ ปน็ เพยี ง กํารเผําศพบนกองฟอน ณ ท่ําน้ําอันศักดิ์สิทธ์ิ ไม่มีอําคํารใดๆ คลุมเป็นพิเศษ ดังนั้น กํารสร้ําง พระเมรุเพื่อเผําพระบรมศพจึงเป็นกํารปรับปรุงคติควํามเชื่อจํากอินเดียให้เข้ํากับวัฒนธรรมดั้งเดิม ของอุษําคเนย์เอง
เป็นไปได้ว่ํารูปแบบกํารเผําศพดั้งเดิมของกรุงศรีอยุธยําอย่ํางน้อยนับแต่สมัยสมเด็จ พระไชยรําชําธิรําชข้ึนไป เป็นพิธีถวํายพระเพลิงพระบรมศพบนกองฟืนไม้หอมชนิดต่ํางๆ จนกระทั่งในครําวพระรําชพธิ พี ระบรมศพสมเดจ็ พระนเรศวรจงึ เรม่ิ ใชพ้ ระเมรุ (เรยี ก พระสเุ มรมุ ําศ) ซง่ึ ประกอบดว้ ยเมรุทิศ เมรุรําย (เมรุแทรก) สํามสร้ําง (หรือสําซ่ําง คือ ระเบียงคดท่ีต่อเชื่อมกับ เมรุทิศและเมรุรําย) ฉตั รตํา่ งๆ และรว้ั รําชวตั ิ นอกจํากนี้ ยงั ตอ้ งมหี มอู่ ําคํารอกี หลํายหลงั เพอื่ ใชใ้ น พระรําชพธิเีชน่ หอเปลอื้งพระที่นั่งทรงธรรมทับเกษตรศําลําลูกขุนทับเกษตรทิมประรําเป็นต้น อําจอธบิ ํายวํา่ กํารถวํายพระเพลงิ ดว้ ยพระเมรนุ เี้ ปน็ ผลมําจํากกํารพฒั นําขนึ้ ของคตพิ รําหมณม์ ํากขนึ้ (นนทพร อยู่มั่งมี ๒๕๕๙) หรือเกี่ยวข้องกับกํารรับวัฒนธรรมเขมร แต่ก็ประเพณีกํารทําบ้ํานให้กับ ผู้วํายชนม์นี้ ก็อําจมีรํากมําจํากวัฒนธรรมดั้งเดิมในอุษําคเนย์ที่ฝังศพใต้บ้ําน ต่อมําปรับเปล่ียน เป็นกํารทําบ้ํานอุทิศให้กบั ผตู้ ํายในปํา่ ชํา้ ตวั อยํา่ งเชน่ ชําวไทดํา จะทํา ‘เฮอื นแฮว่ ’ เปน็ เรอื นจํา ลอง ของคนตําย (แฮว่ ) เพอ่ื ใหค้ นตํายมีที่อยู่ท่ีป่ําแฮ่ว (ป่ําช้ํา) ก่อนท่ีจะเชิญขวัญผีกลับไปห้ิงผีเรือน ในบ้ํานของคนเป็น ซึ่งพิธีนี้มีส่วนคล้ํายกับเฮือนตํานน้อยทํางภําคเหนือ
ในแง่ของรูปแบบทํางสถําปัตยกรรมของพระเมรุสําหรับพระมหํากษัตริย์ นับจํากสมัย อยุธยําถึงสมัยรัตนโกสินทร์ในรัชกําลที่ ๕ ทําเป็นทรงปรําสําทยอดปรํางค์ ซึ่งเรียกว่ําพระเมรุใหญ่ โดยมีพระเมรุมําศ (พระเมรุทอง) ทรงมณฑปอีกองค์ก่อสร้ํางไว้ภํายในเพื่อใช้ประดิษฐํานพระโกศ จนกระทงั่ ในงํานพระบรมศพพระบําทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลํา้ เจํา้ อยหู่ วั จงึ ไดม้ กี ํารใชพ้ ระเมรทุ รงบษุ บก หรือมณฑป ซ่ึงเดิมก็คือพระเมรุมําศที่อยู่ชั้นใน สําเหตุของควํามเปลี่ยนแปลงน้ีเป็นผลมําจํากกําร ปรับเปล่ียนโลกทัศน์ของชนชั้นนําสยํามท่ีต้องกํารเน้นควํามทันสมัยมํากขึ้นจึงจําเป็นต้องตัดทอน สถําปัตยกรรมที่มีขนําดใหญ่โตลงให้เกิดควํามเรียบง่ํายมํากขึ้น อีกทั้งกํารยกเลิกระบบกํารเกณฑ์ แรงงํานไพรท่ ําส ทํา ใหเ้ ปน็ เรอื่ งยํากทจี่ ะสรํา้ งพระเมรขุ นําดใหญไ่ ดอ้ ยํา่ งเชน่ ในระบบกํารเมอื งแบบเกํา่ และยังเป็นกํารส้ินเปลืองอย่ํางมําก ซึ่งสะท้อนกํารมองโลกตํามควํามเป็นจริงของชนชั้นนําสยําม
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๑5
เสด็จสู่แดนสรวง