Page 18 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 18

ดว้ ยเหตนุ ้ี เมอื่ รชั กําลท่ี ๕ สวรรคต บรรดําเสนําบดจี งึ ไดป้ ระชมุ กนั และลงควํามเหน็ วํา่ จะทํา พระเมรุ เป็นอําคํารทรงบุษบกแทน (แน่งน้อย ศักดิ์ศรี และคณะ ๒๕๕๕) ซึ่งเท่ํากับเป็นกํารขยํายขนําด ของพระเมรุทององค์ในเป็นพระเมรุใหญ่ทรงปรําสําทแทน ส่งผลทําให้พระเมรุทรงบุษบกกลําย มําเป็นต้นแบบในงํานพระบรมศพและพระศพของเจ้ํานํายสมัยหลังต่อมํา และยังรวมไปถึงเมรุของ สํามัญชนอีกด้วย
พระปรํางค์วัดไชยวัฒนํารํามที่สร้ํางในสมัยพระเจ้ําปรําสําททองมักได้รับกํารเปรียบเทียบ เสมอว่ําเป็นถําวรอําคํารท่ีก่อสร้ํางจําลองพระเมรุเอําไว้ โดยเฉพําะปรํางค์ประจํามุมและทิศซ่ึงควร มีรูปแบบเป็นตัวแทนของเมรุทิศและเมรุรํายในสมัยอยุธยํา ในขณะที่รูปทรงของปรํางค์ประธําน คงไม่ใช่ลักษณะของพระเมรุหลัก ท้ังนี้เพรําะรูปทรงของปรํางค์คือควํามพยํายํามในกํารจําลอง ปรํางค์ประธํานของปรําสําทนครวัดหรือไม่ก็คือปรํางค์ประธํานวัดมหําธําตุ ดังน้ัน รูปแบบพระเมรุ องค์กลํางควรจะใกล้เคียงกับอําคํารทรงเมรุท่ีรํายล้อมปรํางค์ประธํานคือเป็นอําคํารทรงปรําสําท ซ้อนชั้นท่ีมียอดปรํางค์ขนําดเล็ก นอกจํากน้ี จํากกํารค้นพบภําพวําดพระเมรุงํานพระบรมศพ พระเพทรําชําล่ําสุด ก็อําจทําให้เทียบเคียงได้ว่ําพระเมรุของพระเจ้ําปรําสําททองอําจใกล้เคียงกัน โดยเป็นพระเมรุทรงจัตุรมุขยอดปรํางค์ ๙ ยอด ควํามจริงแล้ว คติกํารสร้ํางปรําสําทเป็นสถํานที่ สํา หรบั ปลงพระบรมศพนเี้ ปน็ คตเิ กํา่ แกท่ ส่ี มั พนั ธก์ บั อํารยธรรมเขมร ดงั เชน่ กํารสรํา้ งปรําสําทนครวดั ทอี่ ทุ ศิ ใหแ้ ดพ่ ระเจํา้ สรุ ยิ วรมนั ที่ ๒ เปน็ ตน้ ซง่ึ จะพบดว้ ยวํา่ แผนผงั กํารวํางตํา แหนง่ ของอําคํารตํา่ งๆ นั้น ยังมีควํามใกล้เคียงกันอีกด้วยกับพระเมรุในสมัยอยุธยํา
อนึ่ง ควํามจริงแล้ว พระเมรุไม่ได้ทําให้เฉพําะกษัตริย์เท่ํานั้นหํากแต่ยังมีกํารสร้ํางพระเมรุ ให้กับพระบรมวงศํานุวงศ์และขุนนํางอีกด้วยโดยมีรูปแบบที่แตกต่ํางกันไปตํามบรรดําศักด์ิและ ฐํานํานุศักด์ิ สํามํารถแบ่งออกได้เป็น ๓ ช้ันคือ พระเมรุเอก โท และตรี ซ่ึงพระเมรุเอกคงไว้ให้ กับพระมหํากษัตริย์เท่ํานั้น นอกจํากนี้ ในสมัยรัตนโกสินทร์ สมเด็จพระอนุชําธิรําช กรมพระรําชวัง บวรมหําสุรสิงหนําทได้ทรงสร้ํางเมรุปูนสําหรับปลงศพผู้มีบรรดําศักด์ิ ทั้งน้ีเพ่ือลดภําระปัญหํา กํารปลงศพท่ีต้องสร้ํางพระเมรุทุกครั้งและยังเต็มไปด้วยเครื่องประกอบอีกหลํายอย่ําง โดยสร้ําง เมรปุ นู ทแี่ รกคอื วดั สวุ รรณํารําม ตอ่ มําพระบําทสมเดจ็ พระนงั่ เกลํา้ เจํา้ อยหู่ วั ไดท้ รงโปรดเกลํา้ ใหส้ รํา้ ง อีกที่วัดอรุณรําชวรํารํามและวัดสระเกศ ซึ่งล้วนเป็นวัดที่ตั้งอยู่นอกกําแพงเมือง
ในพนื้ ทงี่ ํานพระเมรยุ งั มกี ํารจดั มหรสพ ซง่ึ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของงํานสมโภชพระบรมศพ จํา นวน ๗ วันหรือตํามควํามเหมําะสม อําจกล่ําวได้ว่ํา ด้วยแนวคิดที่เชื่อว่ํากษัตริย์ท่ีสวรรคตเสด็จกลับ สู่สวรรค์ ดังน้ัน เป้ําหมํายหลักของงํานพระบรมศพจึงมิใช่งํานโศกเศร้ํา หํากเป็นงํานที่น่ํายินดีปรีดํา และถอื เปน็ กํารเคํารพตอ่ กษตั รยิ เ์ ปน็ ครงั้ สดุ ทํา้ ยไปพรอ้ มกนั ตํามทหี่ ลกั ฐํานในสมยั อยธุ ยําตอนปลําย ปรํากฏว่ํามหรสพที่เล่นมีโขน หุ่นกระบอก ง้ิว ละครชําตรี เทพทองมอญรํา เพลงปรบไก่ เสภํา เลํา่ นยิ ําย ในสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ มเี พมิ่ เตมิ อกี เชน่ หมอลํา หนงั เชดิ สงิ โต มงั กร ญวนรํา กระถําง เป็นต้น โดยแสดงในโรงระบําท้ัง ๑๕ โรง ซึ่งตั้งอยู่ระหว่ํางระทํา (เสําดอกไม้เพลิง) ซึ่งมักเรียกว่ํา ช่องสัทธํา ส่วนหน้ําระทํามีกํารตั้งเสําสําหรับเล่นกํายกรรมต่ํางๆ เช่น ไต่ลวด หกคะเมน นอนดําบ เป็นต้น ซึ่งกํารละเล่นต่ํางๆ น้ีควบคุมและเล่นโดยขุนนํางชํานําญกํารทั้งหมด
เสด็จสู่แดนสรวง
๑๖ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   16   17   18   19   20