Page 123 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 123
ธรรมเนียมกํารทอดเคร่ืองรําชอิสริยําภรณ์หน้ําพระโกศในงํานพระบรมศพ น่ําจะเริ่ม มีมําตั้งแต่สมัยรัชกําลที่ ๖ ดังที่ปรํากฏว่ํา มีกํารถวํายเครื่องรําชอิสริยําภรณ์อันมีเกียรติยศย่ิง มหําวชิรมงกุฎ แด่พระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทรําบรมรําชินีนําถ พระบรมรําชชนนีพันปีหลวง เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลําคม พ.ศ.๒๔๖๒ (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๖๒: ๒๑๔๓)
นอกจํากเคร่ืองรําชอิสริยําภรณ์ท่ีกล่ําวมําแล้ว ท่ีม้ําหมู่ยังมีของสําคัญท่ีทอดถวํายเป็น พระเกยี รตยิ ศอกี ดว้ ยคอื “พระคทําจอมทพั ภมู พิ ล” ซงึ่ ทํา ดว้ ยทองคํา หนกั ๔๓๐ กรมั สํา หรบั ทรงใช้ ในพิธีกํารสําคัญที่เกี่ยวเนื่องกับกํารทหําร ในฐํานะท่ีทรงเป็น “จอมทัพไทย” ตํามประวัติพระคทํา องค์นี้ สภํากลําโหมจัดสร้ํางขึ้นทูลเกล้ําถวํายแด่รัชกําลที่ ๙ เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๙ พระคทําจอมพลเริ่ม มใี ชค้ รง้ั แรกในรชั กําลที่ ๕ โดยกรมยทุ ธนําธกิ ํารในนํามขํา้ รําชกํารทหํารบกจดั สรํา้ งขนึ้ ทลู เกลํา้ ถวําย ในวโรกําสพระรําชพิธีรัชดําภิเษก พ.ศ.๒๔๔๖ (กรมยุทธศึกษําทหํารบก ๒๕๔๔: ๒-๓) ต่อมําเมื่อ พระองค์สวรรคตได้มีกํารเชิญพระคทําจอมพลองค์ดังกล่ําวมําทอดถวํายท่ีม้ําหมู่ริมพระฉํากก้ัน พระบรมศพดว้ ย (พระบําทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลํา้ เจํา้ อยหู่ วั ๒๕๔๖: ๑๓๗) ดงั นนั้ จงึ ถอื เปน็ ธรรมเนยี ม งํานพระบรมศพพระมหํากษัตริย์ที่จะต้องมีพระคทําจอมพลทอดถวํายเสมอมํา
เคร่ืองสูงหักทองขวาง
เครอื่ งสงู มไี วส้ ํา หรบั เชญิ ออกแหน่ ํา และตํามเสดจ็ เมอ่ื พระมหํากษตั รยิ เ์ สดจ็ พระรําชดํา เนนิ ไปยังที่ต่ํางๆ เพ่ือแสดงถึงพระบรมรําชอิสริยยศดุจพระอินทร์ ซ่ึงเมื่อเสด็จไปท่ีใดก็มีเทวดําเชิญ เครื่องสูงแห่เป็นขบวนไปด้วยเสมอ ดังนั้น เครื่องสูงจึงหมํายถึงเคร่ืองแสดงและประดับพระรําช อิสริยยศของพระมหํากษัตริย์ ประกอบด้วยของ ๘ อย่ําง ได้แก่ ฉัตรเจ็ดชั้น ฉัตรห้ําชั้น บังแทรก ฉัตรชุมสําย จํามร พระกลด บังสูรย์ และพัดโบก (พระยําเทวําธิรําช ๒๕๐๔: ๙-๑๐)
ธรรมเนียมกํารใช้เครื่องสูงน้ัน ไทยคงได้รับอิทธิพลมําจํากอินเดีย (รําชบัณฑิตยสถําน ๒๕๐๗: ๓๘๐๕) แต่ในอินเดียจะมีเคร่ืองสูงน้อยชิ้นคือมีเพียงฉัตร จํามร และพัดโบกเท่ํานั้น ต่อมํา เมอื่ แพรห่ ลํายเขํา้ มําในวฒั นธรรมไทย จงึ มกี ํารเพมิ่ ชนดิ ของเครอื่ งสงู จนมคี วํามหลํากหลํายมํากขนึ้ เครื่องสูงสําหรับองค์พระมหํากษัตริย์นั้นเรียกว่ํา “เครื่องสูงหักทองขวําง” หรือ “พระอภิรุมชุมสําย ปักหักทองขวําง” คําดังกล่ําวมีท่ีมําจํากวิธีกํารประดับตกแต่งส่วนที่เป็นผ้ําของเคร่ืองสูงแต่ละชิ้น ในสํารับนี้ โดยใช้เส้นทองที่ทําจํากทองคําหรือดิ้นไหมสีทอง ปักเป็นลวดลํายต่ํางๆบนเนื้อผ้ํา และ มกั จะหกั เสน้ ทองใหข้ วํางกบั ตวั ลําย เพอื่ ใหล้ ํายเกดิ ควํามนนู สวยงําม วธิ กี ํารนเี้ ดมิ เปน็ วธิ กี ํารปกั ผํา้ ของชําวญวน (เวยี ดนําม) ซงึ่ ในสมยั รชั กําลที่ ๒ โปรดใหช้ ํา่ งสะดงึ กรงึ ไหมในพระรําชวงั หลวง มําฝกึ หดั ปกั ดนิ้ อยํา่ งญวนเชน่ นี้ เพอื่ ใชจ้ ดั ทํา เครอ่ื งแตง่ กํายโขนละคร ตอ่ มําจงึ โปรดใหใ้ ชว้ ธิ กี ํารปกั หกั ทองขวําง นี้ สําหรับตกแต่งเครื่องสูงด้วย (รําชบัณฑิตยสถําน ๒๕๕๐: ๑๘๔-๑๘๕)
เครื่องสูงสํารับหน่ึงจะประกอบด้วยของอยู่ ๘ อย่ําง หํากเป็นกํารเสด็จพระรําชดําเนินโดย กระบวนพยุหยําตรําทํางสถลมํารคก็จะเชิญเครื่องสูงหักทองขวํางครบทั้งสํารับ ๘ อย่ํางเข้ํากระบวน เพื่อแห่นําและตํามเสด็จเสมอ แต่ถ้ําเป็นกํารจัดเคร่ืองสูงตั้งแต่งถวําย ณ ที่ประดิษฐํานพระโกศ พระบรมศพ ก็จะลดชนิดของเครื่องสูงหักทองขวํางลงเหลือเพียง ๔ อย่ํางเท่ํานั้น คือฉัตรเจ็ดชั้น ฉัตรห้ําชั้น ฉัตรชุมสําย และบังแทรก โดยตั้งแต่งไว้ที่บริเวณโดยรอบพระแท่นสุวรรณเบญจดล
4
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๑๒๑
เสด็จสู่แดนสรวง