Page 124 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 124

สําเหตทุ ลี่ ดชนดิ ของเครอื่ งสงู หกั ทองขวํางลงเหลอื เพยี ง ๔ ชนดิ ดงั กลํา่ วมําขํา้ งตน้ เนอื่ งจําก กํารประดิษฐํานพระบรมศพบนพระที่นั่งดุสิตมหําปรําสําทน้ัน ไม่จําเป็นต้องมีเคร่ืองกํางกันแดด (พระกลดและบงั สรู ย)์ หรอื เครอื่ งพดั ปดั เปํา่ (พดั โบกและจํามร) จงึ ไมม่ กี ํารเชญิ ออกมําตงั้ แตง่ ถวําย เวลํานี้ แต่เมื่อถึงเวลําที่มีกํารอัญเชิญพระโกศพระบรมศพเข้ําริ้วกระบวนเคลื่อนไปยังพระเมรุมําศ จงึ จะมกี ํารเชญิ เครอื่ งสงู หกั ทองขวํางเตม็ ทง้ั สํา รบั ๘ ชนดิ เขํา้ รว้ิ กระบวนเพอื่ เปน็ พระเกยี รตยิ ศดว้ ย
พระบรมฉายาลักษณ์ในงานพระบรมศพ
แมว้ ํา่ วทิ ยํากํารเรอื่ งกํารถํา่ ยรปู จะเปน็ ของสมยั ใหมจ่ ํากชําวตะวนั ตก ตง้ั แตส่ มยั รชั กําลท่ี ๔ แตน่ ํา่ วํา่ ธรรมเนยี มกํารตงั้ พระบรมฉํายําลกั ษณใ์ นงํานพระบรมศพของไทยนนั้ ไมน่ ํา่ จะเกยี่ วขอ้ งกบั ธรรมเนียมตะวันตกแต่อย่ํางใด เน่ืองจํากใกล้กับหีบพระบรมศพของพระมหํากษัตริย์ในยุโรปที่ตั้ง อยู่ในวิหําร ไม่เคยมีกํารตั้งพระบรมฉํายําลักษณ์เลย ดังนั้น ธรรมเนียมกํารตั้งพระบรมฉํายําลักษณ์ ในงํานพระบรมศพจึงน่ําจะเกิดข้ึนในรําชสํานักไทยนี่เอง
จํากหลกั ฐํานภําพถํา่ ยเกํา่ พบวํา่ งํานพระศพพระบรมวงศํานวุ งศบ์ ํางองคใ์ นสมยั รชั กําลที่ ๕ เรมิ่ มกี ํารตงั้ พระฉํายําลกั ษณข์ องผสู้ นิ้ พระชนม์ (หรอื พระสําทสิ ลกั ษณ-์ ภําพเขยี น) ทห่ี นํา้ พระโกศแลว้ ตัวอย่ําง เช่น งํานพระศพพระองค์เจ้ําศิริวงศ์วัฒนเดชและหม่อมแม้น ภํานุพันธุ์ ณ อยุธยํา เม่ือ พ.ศ.๒๔๕๑ เป็นต้น แม้ว่ําจะไม่สํามํารถหําหลักฐํานได้ว่ํา เมื่อคร้ังงํานพระบรมศพพระบําทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว พ.ศ.๒๔๕๓ มีกํารต้ังพระบรมฉํายําลักษณ์ท่ีพระท่ีนั่งดุสิตมหําปรําสําท หรอื ไม่ แตก่ พ็ บวํา่ ในงํานพระบรมศพสมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทรําบรมรําชนิ นี ําถ พระบรมรําชชนนพี นั ปหี ลวง เมอื่ พ.ศ.๒๔๖๒ มกี ํารตงั้ พระบรมฉํายําลกั ษณท์ หี่ นํา้ พระฉํากมขุ ตะวนั ตกของพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหําปรําสําท ซึ่งเป็นที่ประดิษฐํานพระโกศด้วย (พระองค์เจ้ําจุลจักรพงษ์ ๒๕๓๑: ๑๔๑) และต่อมําก็จะกลํายเป็น แนวปฏิบัติที่ต้องมีกํารตั้งแต่งพระบรมฉํายําลักษณ์ไว้ทุกครั้ง
พระบรมฉํายําลักษณ์ในงํานพระบรมศพครั้งนี้ เป็นภําพพระบําทสมเด็จพระปรมินทร มหําภูมิพลอดุลยเดช ทรงฉลองพระองค์เครื่องแบบเต็มยศทหํารบก และสวมสํายสะพํายของ เครื่องขัตติยรําชอิสริยําภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหําจักรีบรมรําชวงศ์ ทรงสวมฉลองพระองค์ ครยุ กรองทองประดบั ดํารํามหําจกั รแี ละสํายสรอ้ ยปฐมจลุ จอมเกลํา้ วเิ ศษดว้ ย ขณะประทบั ยนื อยเู่ บอื้ งหนํา้ พระที่นั่งภัทรบิฐ ในพระท่ีน่ังไพศําลทักษิณ พระบรมฉํายําลักษณ์นี้ทรงฉํายไว้เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๙
พระพุทธรูปประจาพระชนมวารบนพระแท่นราชบัลลังก์ประดับมุก
สําหรับคติควํามเป็นมําของพระพุทธรูปประจําพระชนมวํารหรือพระพุทธรูปปํางประจํา วนั เกดิ ในงํานพระบรมศพมคี วํามเปน็ มําดงั นี้ กลํา่ วคอื กํารประดษิ ฐํานพระพทุ ธรปู ประจํา พระชนมวําร ในพระรําชพิธีพระบรมศพนั้น มีหลักฐํานแน่ชัดปรํากฏในสมัยรัชกําลท่ี ๕ เม่ือครําวงํานพระบรมศพ สมเด็จพระบรมโอรสําธิรําช เจ้ําฟ้ํามหําวชิรุณหิศ สยํามมกุฎรําชกุมําร พ.ศ.๒๔๓๗ (ราชกิจจา นุเบกษา ๒๔๓๗: ๓๓๕) และถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติสําหรับพระรําชพิธีพระบรมศพแทบทุกคร้ัง อย่ํางไรก็ตําม ในงํานพระบรมศพบํางครําวอําจมีกํารอัญเชิญพระพุทธรูปองค์อ่ืนมําประดิษฐําน แทนไดด้ ว้ ย ตวั อยํา่ งเชน่ เมอื่ ครง้ั งํานพระบรมศพรชั กําลที่ ๘ มกี ํารอญั เชญิ พระสมั พทุ ธพรรโณภําส
เสด็จสู่แดนสรวง
๑๒๒ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   122   123   124   125   126