Page 126 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 126
เปน็ ประเพณเี รอื่ ยมําทกุ รชั กําล ซง่ึ ในระยะแรกจะเรยี กวํา่ พระพทุ ธรปู “ประจํา พระชนมพ์ รรษําวนั ” ดังปรํากฏในประกําศพระรําชพิธีทวีธําภิเษก เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๖ (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๔๗: ๔๗๘) ต่อมําในสมัยรัชกําลท่ี ๖ จึงปรํากฏคําว่ํา “พระพุทธรูปประจําพระชนมวําร” ดังปรํากฏในประกําศ เรื่องพระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัวสวรรคต (พิริยะ ไกรฤกษ์ ๒๕๕๑: ๘๓) และใช้คํานี้ เพื่อหมํายถึงพระพุทธรูปปํางประจําวันพระรําชสมภพของพระมหํากษัตริย์เสมอมําจนถึงปัจจุบัน
อย่ํางไรก็ดี บํางครั้งรูปแบบปํางพระพุทธรูปสํามํารถเปลี่ยนแปลงไปตํามพระรําชนิยม สว่ นพระองคไ์ ดด้ ว้ ย ตวั อยํา่ งเชน่ พระบําทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลํา้ เจํา้ อยหู่ วั ซงึ่ เสดจ็ พระรําชสมภพ วันอังคําร แต่โปรดให้สร้ํางพระพุทธรูปประจําพระชนมวํารเป็น “ปํางห้ํามพระแก่นจันทน์” แทน ปํางไสยําสน์ซึ่งเดิมกําหนดไว้สําหรับวันอังคําร (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๕๔: ๑๗๘๓) เป็นต้น
เช่นเดียวกับกรณีพระพุทธรูปประจําพระชนมวํารในรัชกําลที่ ๙ ซึ่งอันท่ีจริงพระองค์เสด็จ พระรําชสมภพวนั จนั ทร์ แตพ่ ระพทุ ธรปู กลบั เปน็ “ปํางหํา้ มญําต”ิ (ยกพระหตั ถข์ วําขํา้ งเดยี ว) แทนที่ จะเป็นปํางห้ํามสมุทร (ยกพระหัตถ์ทั้งสองข้ําง) ตํามคติด้ังเดิมนั้น คงเป็นเพรําะคตินิยมอย่ํางใหม่ ทเ่ี พง่ิ เกดิ ในสมยั รชั กําลท่ี ๙ นเ่ี องทถี่ อื กนั วํา่ พระพทุ ธรปู ประจํา วนั เกดิ วนั จนั ทรค์ วรเปน็ “ปํางหํา้ มญําต”ิ เท่ํานั้น (พระพิมลธรรม ๒๕๓๓: ๙๔) โดยองค์พระมีควํามสูงตั้งฐํานถึงพระรัศมี ๓๑.๙๕ เซนติเมตร หลอ่ ดว้ ยเงนิ และกําไหลท่ องคํา สรํา้ งขนึ้ เมอ่ื ครงั้ พระรําชพธิ มี หํามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษํา ๕ รอบ พ.ศ. ๒๕๓๐
นอกจํากพระพุทธรูป พระแท่นรําชบัลลังก์ประดับมุกที่ไว้ประดิษฐํานพระพุทธรูปองค์น้ี กน็ บั วํา่ มคี วํามสํา คญั มําก ตํามทกี่ ลํา่ วพระแทน่ องคน์ ส้ี รํา้ งขนึ้ ตงั้ แตส่ มยั รชั กําลท่ี ๑ โดยมผี อู้ ํา นวยกําร สรํา้ งคอื เจํา้ พระยํามหําเสนํา (บนุ นําค) (เจํา้ พระยําทพิ ํากรวงศ์ ๒๔๗๘: ๑๗๓) กํารตกแตง่ พระแทน่ สะทอ้ นคตเิ ขําพระสเุ มรดุ งั เหน็ ไดจ้ ํากประดบั ดว้ ยฐํานสงิ หท์ ชี่ นั้ ลํา่ ง รปู สงิ หแ์ บก ครฑุ แบก และเทพนม ตํามลําดับ ส่ีมุมพระแท่นน้ีมีต้นไม้เงินและต้นไม้ทองตั้งอยู่อย่ํางละคู่ เป็นสัญลักษณ์ของต้นไม้ในป่ํา หิมพํานต์เชิงเขําพระสุเมรุ และเหนือพระแท่นรําชบัลลังก์น้ีมีพระนพปฎลมหําเศวตฉัตรกํางก้ัน ดังนั้น เม่ือพระมหํากษัตริย์เสด็จขึ้นประทับเหนือพระแท่นรําชบัลลังก์นี้ ก็เปรียบเสมือนทรงเป็น พระอินทร์ผู้เป็นรําชําแห่งทวยเทพ ซ่ึงสถิตอยู่เหนือยอดเขําพระสุเมรุน่ันเอง
เครื่องราชสักการะพระบรมศพ
โดยปกติกํารจัดพิธีบําเพ็ญกุศลในทํางพระพุทธศําสนํา ย่อมมีกํารจัดแต่งเคร่ืองบูชํา พระรัตนตรัยด้วยดอกไม้ธูปเทียนเป็นหลัก ซ่ึงพุทธศําสนิกชนทุกระดับช้ันคุ้นเคยกันดี แต่ถ้ําเป็น พระรําชพธิ พี ระบรมศพของพระมหํากษตั รยิ ์ เครอื่ งนมสั กํารสํา หรบั บชู ําพระรตั นตรยั และเครอื่ งรําช สักกําระสําหรับพระบรมศพ ย่อมมีรํายละเอียดปลีกย่อยที่วิจิตรมํากกว่ํา เนื่องจํากธรรมเนียมใน รําชสํา นกั สยํามนนั้ กํารจดั เครอื่ งบชู ําในพระรําชพธิ มี กั จะตอ้ งมขี องครบ ๔ อยํา่ งคอื เทยี น ธปู ขํา้ วตอก และดอกไม้ ซ่ึงอําจจะมีต้นเค้ํามําจํากประเพณีในศําสนําพรําหมณ์ โดยถือว่ําเทียนเป็นเครื่องให้ แสงสว่ําง ธูปเป็นเคร่ืองดับกลิ่นอันไม่พึงประสงค์ ข้ําวตอกและดอกไม้เป็นเครื่องประทินให้มี กลิ่นหอม (สมเด็จฯ กรมพระยําดํารงรําชํานุภําพ ๒๔๗๓: ๑-๒)
เสด็จสู่แดนสรวง
๑๒4 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ