Page 136 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 136
แบ่งออกเป็น ๓ ข้ันตอนอย่ํางกว้ํางๆ ประกอบด้วยขั้นตอนกํารแยกออก (separation) ขั้นตอน กํารเปลย่ี นผํา่ น (transition) และขนั้ ตอนกํารรวมกลบั ดงั เดมิ (integration) (Gennep 1960: 146-147) ถ้ําเปรียบเทียบตํามแนวคิดข้ํางต้น กํารจัดกํารศพหลังจํากเสียชีวิตก่อนกํารบรรจุศพ คือ ขนั้ ตอนกํารแยก “คนตําย” ออกจําก “คนเปน็ ” อนั เปน็ สถํานภําพเดมิ ของบคุ คลกอ่ นเสยี ชวี ติ รวมถงึ กํารไว้ทุกข์ในฐํานะช่วงเวลําแยกพิเศษจํากสังคมเพื่ออยู่กับควํามโศกเศร้ํา (Gennep 1960: 147) ข้ันตอนกํารเปลี่ยนผ่ําน คือ พิธีกรรมทํางศําสนําหลังกํารบรรจุศพก่อนกํารฝังหรือเผํา ซ่ึงผู้เสียชีวิต ท่ีปรํากฏในสํายตําของกลุ่มคนในสังคมอําจยังได้รับกํารปฏิบัติเสมือนหนึ่งยังมีชีวิตอยู่ ท้ังนี้เพื่อให้ ผู้ท่ีมีควํามผูกพันกับผู้ตํายได้ทําใจและยอมรับควํามเปลี่ยนแปลงจํากกํารสูญเสีย ส่วนขั้นตอน กํารรวมกลับดังเดิมน้ัน ได้แก่กํารจัดกํารเผําหรือฝังศพ ตลอดจนกํารจัดกํารกับอัฐิธําตุในบําง วัฒนธรรมจนกระท่ังกํารออกทุกข์ ท้ังให้ดวงวิญญําณได้รวมเข้ํากับอํานําจเหนือธรรมชําติตําม
ควํามเชื่อ และเพื่อให้คนที่ยังมีชีวิตอยู่กลับเข้ําสู่วิถีชีวิตปกติ
นอกจํากน้ีที่สําคัญ ในแต่ละช่วงของพิธีกรรมกํารจัดกํารศพเองก็มีข้ันตอนท้ังสํามจําแนก
ย่อยอยู่ โดยจะเห็นได้ว่ําดนตรีเป็น “เคร่ืองมือ” ท่ีมีบทบําทในกํารแบ่งช่วงข้ันตอนของพิธีกรรม เหตเุ พรําะคนโบรําณเชอ่ื วํา่ ดนตรเี ปน็ เสยี งทสี่ ํามํารถใชใ้ นกํารสอื่ สํารกบั ขวญั หรอื วญิ ญําณได้ ทํา ให้ ดนตรีเป็นเสียงที่ศักดิ์สิทธ์ิไม่ใช่บรรเลงเพ่ือควํามไพเรําะ สร้ํางบรรยํากําศของควํามเศร้ํา หรือทําให้ งํานศพเงยี บเฉยี บจนเกนิ ไปเทํา่ นนั้ ในบํางสงั คม ดนตรถี กู ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื อยํา่ งหนงึ่ ในกํารทจี่ ะทํา ให้ หมอผหี รอื ผปู้ ระกอบพธิ กี รรมสํามํารถตดิ ตอ่ หรอื เดนิ ทํางไปสโู่ ลกหลงั ควํามตํายไดอ้ กี ดว้ ย ดว้ ยกํารท่ี ดนตรีเป็นเสมือนกับเครื่องมือในกํารสื่อสํารและกํารเปลี่ยนผ่ํานในแต่ช่วงของพิธีกรรมนี้เองทําให้ เพลงท่ีบรรเลงต้องมีท่วงทํานองและเนื้อหําท่ีแตกต่ํางกัน และบํางเพลงถูกแต่งขึ้นมําเฉพําะเพ่ือใช้ ในงํานศพ ดงั นน้ั เพลงแตล่ ะเพลงทบ่ี รรเลงในชว่ งพธิ พี ระบรมศพจงึ มบี ทบําทหนํา้ ทขี่ องตนตํามนยั ยะ สําคัญของกระบวนพิธีท่ีเพลงน้ันๆ ได้รับกํารบรรเลง
ดนตรีของหลวงกับพระราชสถานภาพและกาละแห่งพระราชพิธีพระบรมศพ
หลกั ฐํานทํางประวตั ศิ ําสตรบ์ ง่ ชวี้ ํา่ รําชสํา นกั สยํามไดม้ กี ํารบรรเลงดนตรใี นพธิ พี ระบรมศพ และพระศพ ดังมีหลักฐํานเกี่ยวกับดนตรีในกํารพระบรมศพสมเด็จพระเจ้ําอยู่หัวบรมโกศปรํากฏใน พระรําชพงศําวดํารดังนี้ว่ํา “ มีนํางขับรําเกณฑ์ทํามโหรี กํานัลนํารีน้อยๆ งํามๆ ดั่งกินนรกินนรีมํา นงั่ หอ้ มลอ้ มขบั รํา ทํา เพลงอยเู่ ปน็ อนั มําก แลว้ จงึ ใหป้ ระโคมฆอ้ ง กลอง แตรสงั ข์ และมโหรพี ณิ พําทย์ อยู่ทุกเวลํา” (สมภร ภิรมย์ ๒๕๓๙: ๖๒) ซึ่งยังคงถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติสืบมําจนปัจจุบัน
การประโคมย่ายามในพระราชพิธีพระบรมศพ
สันนิษฐํานว่ําแต่เดิม “กํารย่ํายําม” เป็นวิธีกํารบอกเวลําท่ีคนในรําชสํานักคุ้นเคยกันดีนับ ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยํา เช่นควํามตอนหนึ่งใน โคลงทวาทศมาส (๒๕๐๒: ๖) กล่ําวว่ํา
ฤดูเดือนเจตรร้อน ทุก ย่ายาม โดรดวง
จารจาเราอร อินทรพรหมยมป้อง
ทรวงธร ด่วนน้อง อรนิตย ไป่คืน
เสด็จสู่แดนสรวง
๑34 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ