Page 142 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 142

อีกแบบหนึ่งคือ เพลงแบบวัฒนธรรมประชํานิยม ตัวอย่ํางเช่นเพลง “ฟ้าร้องไห้” คําร้อง-ทํานอง ประพันธ์โดย ครูชลธี ธํารทอง มีคําร้องว่ํา “แล้วพ่อก็จากลูกไป จากไปไม่เอ่ยคาลา แม้ทาใจเอาไว้ล่วงหน้า ถึงเวลากลั้นน้าตาไม่ไหว เสียงครวญคร่าไปทั่วขวานทอง ความหม่นหมอง ครอบครองอยู่ทั่วไทย แม้แต่ฟ้าก็ยังร้องไห้ เหมือนรู้ใจ คนไทยอาลัยอาวรณ์ พ่อเหน่ือยมานานนัก งานหนักไม่ค่อยได้พักผ่อน พันยอดดอยร้อยทุ่งนาป่าดอน พ่อห่วงหาอาทร พสกนิกรของพ่อ นับ ตงั้ แตน่ ตี้ อ่ ไป คงไมไ่ ดเ้ หน็ หนา้ พอ่ อกี หนอ ดว้ ยผลบญุ พอ่ กอ่ เปน็ สะพานทอดรอ นา พอ่ สสู่ รวงสวรรค์ ขาดพ่อเหมือนเรือถ่อหัก เราจงรักสามัคคีกันไว้ ทาตามคาสอนของพ่อ ชาติไทยก็เดินต่อไปได้ พอ่ คอยจบั จอ้ งมองมา จากชนั้ ฟา้ สวรรคาลยั ถา้ ลกู ทกุ คนรกั พอ่ จงสานตอ่ ตามรอยพอ่ ไป รกั ษาบา้ น เมืองเอาไว้ รักษาบ้านเมืองเอาไว้ ให้พ่อภูมิใจว่าเป็นลูกพ่อ”
แน่นอนว่ําเพลงเหล่ําน้ีล้วนมีชุดคําแสดงควํามโศกเศร้ําอันเน่ืองมําจํากกํารสวรรคต เช่น ดจุ ควํามมดื คลมุ ฟํา้ โศกใจ อสั สชุ ลแหง่ ชําวไทยทว่ มทน้ ฟํา้ (เพลงโอพ้ ระคนื สรวง) ถงึ เวลํากลนั้ นํา้ ตํา ไม่ไหว ควํามหม่นหมองครอบครองอยู่ทั่วไทย แม้แต่ฟ้ําก็ยังร้องไห้ (เพลงฟ้ําร้องไห้) ส่งผลให้ นอกจํากศิลปินนักแต่งเพลงจะได้ถ่ํายทอดอํารมณ์โศกของตนแล้ว ผู้ขับร้องเพลงและผู้ฟังเพลง ยงั ไดแ้ สดงออกซง่ึ ควํามเศรํา้ เสยี ใจของตนไปพรอ้ มกนั ดว้ ย แตเ่ พลงเหลํา่ นยี้ งั สะทอ้ นควํามรสู้ กึ และ โลกทัศน์ที่ประชําชนมีควํามรู้สึกต่อพระมหํากษัตริย์ในรัฐสมัยใหม่ และยังบอกเล่ําบรรยํากําศทําง สังคมและกํารเมืองไทยในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่ํานมําอีกด้วย
นอกจํากนยี้ งั มกี ํารรํา ลกึ ถงึ พระบําทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหําภมู พิ ลอดลุ ยเดชผํา่ นกํารขบั รอ้ ง บรรเลง และรับฟังเพลงพระรําชนิพนธ์ อันเป็นเครื่องแสดงควํามรัก ควํามภักดี และควํามซําบซึ้ง ในพระอจั ฉรยิ ภําพทํางดนตรี ปรํากฏกํารณท์ น่ี ํา่ สนใจมํากทเี่ กดิ ขน้ึ คอื มกี ํารใหค้ วํามหมํายตอ่ เพลง พระรําชนิพนธ์ในฐํานะส่ิงแทนพระองค์ เช่น กํารจัดฉํายภําพยนตร์เรื่อง “พรจากฟ้า” ในช่วงปีใหม่ เพอื่ สอื่ วํา่ เพลงพระรําชนพิ นธจ์ ะยงั คงอยเู่ ปน็ พรของประชําชนไทยไปตรําบนํานเทํา่ นําน หรอื ในอกี ลกั ษณะคอื กํารนํา เอําชอื่ เพลงพระรําชนพิ นธม์ ํารอ้ ยเรยี งกนั เปน็ บทเพลงถวํายอําลยั ใหช้ อ่ื เพลงเหลํา่ นน้ั ส่ือถึงองค์รัชกําลที่ ๙ แม้ว่ําเน้ือเพลงจะมิได้กล่ําวถึงพระองค์ท่ํานโดยตรง ดังตัวอย่ํางจํากเพลง “เสียงในใจ” ซึ่งทิวํา สําระจูฑะ และจ่ําเอกธรรมรัฐ อภิรดี เป็นผู้แต่งเนื้อร้องและทํานองตํามลําดับ
ยามเย็น ผ่าน ยามค่า โอ้ ค่าแล้ว นี้ แผ่นดินของเรา เราร่วมกัน คือ ความฝันอันสูงสุด ให้ เราสู้ แม้ แสงเทียน วูบลับดับแสงไป เช่น ชะตาชีวิต ลิขิตเขียน
ถึง อาทิตย์อับแสง ไปเตือนใจตน
สายลม แว่ว คล้ายคาฝากจากสวรรค์ ในดวงใจนิรันดร์ จงม่ันใจ
ให้เรารู้ รัก ฝัน อย่าหวั่นไหว
จง ยิ้มสู้ ด้วยใจ ไกลกังวล
ลมหนาว เปลี่ยนร้อนคลายสู่ สายฝน วันจะวน ใกล้รุ่ง ทุกพรุ่งน้ี
เพลงที่แต่งข้ึนเพ่ือเฉลิมพระเกียรติโดยกล่ําวถึงพระมหํากรุณําธิคุณในพระบําทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหําภมู พิ ลอดลุ ยเดชเมอื่ ครงั้ ทพี่ ระองคย์ งั ทรงพระชนมอ์ ยู่ เชน่ เพลง “ตน้ ไมข้ องพอ่ ” เพลง “พระราชาผทู้ รงธรรม” เพลง “ในหลวงของแผน่ ดนิ ” ซงึ่ มกั นํา มําขบั รอ้ งในพธิ จี ดุ เทยี นถวําย อําลยั และกํารแสดงดนตรเี พอื่ รํา ลกึ ถงึ พระบําทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหําภมู พิ ลอดลุ ยเดชอยบู่ อ่ ยครง้ั แสดงใหเ้ หน็ วํา่ บทเพลงเหลํา่ นไี้ ดเ้ ปลย่ี นบทบําทหนํา้ ทไ่ี ปเปน็ บทเพลงถวํายควํามอําลยั แทน เพอ่ื ชว่ ย ถํา่ ยทอดควํามรสู้ กึ โศกเศรํา้ และทํา ใหป้ ระชนชนไดย้ อ้ นรํา ลกึ ถงึ ชว่ งเวลําในรชั สมยั ของพระองคท์ ํา่ น
เสด็จสู่แดนสรวง
๑4๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   140   141   142   143   144