Page 140 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 140
ดนตรีกับการมหรสพในพระราชพิธีออกพระเมรุมาศ
กํารมหรสพในงํานพระเมรเุ ปน็ ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ขิ องรําชสํา นกั สยํามมําแตโ่ บรําณดงั ปรํากฏ หลักฐํานในบันทึกทํางประวัติศําสตร์ต่ํางๆ เช่น คาให้การขุนหลวงประดู่ทรงธรรม สําหรับ ในส่วนของมหรสพท่ีใช้ดนตรีเป็นองค์ประกอบสําคัญก็เช่น โขน ละคร ระบํา หนัง หุ่น งิ้ว มอญรํา หมอลํา ญวนรํากระถําง เพลงเทพทอง เชิดสิงโต-มังกร จะมํากหรือน้อยก็ตํามแต่ฐํานํานุศักด์ิ ของพระบรมศพ อยํา่ งไรกด็ ี ธรรมเนยี มนยี้ กเลกิ ไปในกํารถวํายพระเพลงิ พระบรมศพพระบําทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว ด้วยพระบําทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ําเจ้ําอยู่หัวทรงมีพระรําชวินิจฉัยว่ํา กํารจดั งํานศพควรเปน็ ไปเพอื่ ผลู้ ว่ งลบั โดยแท้ จงึ โปรดเกลํา้ ใหย้ กเลกิ กํารมหรสพในงํานออกพระเมรุ เสีย ภํายหลังในรัชกําลพระบําทสมเด็จพระปรมินทรมหําภูมิพลอดุลยเดชธรรมเนียมปฏิบัตินี้ จึงได้รื้อฟื้นขึ้นอีกครั้ง ในพิธีถวํายพระเพลิงพระศพสมเด็จพระศรีนครินทรําบรมรําชชนนี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ (นนทพร อยู่มั่งมี ๒๕๕๑: ๑๖๓)
กํารยกเลิกและรื้อฟื้นมหรสพในงํานออกพระเมรุน้ันแสดงถึงวิวัฒนํากํารทํางควํามคิด เกยี่ วกบั ควํามตํายของชนชนั้ นํา สยําม กลํา่ วคอื เดมิ ชําวสยํามมองควํามตํายในฐํานะเปน็ กํารเปลยี่ น ภพภูมิ อันเป็นคติทํางพุทธศําสนํา ซึ่งสอดคล้องกับควํามคิดในลัทธิกํารปกครองแบบเทวรําชํา เรื่องกํารอวตํารขององค์สมมุติเทพ ส่งผลให้กํารออกพระเมรุมําศ เป็นกิจกรรมรื่นเริงเสมอด้วย กํารสมโภชในวําระที่เทพเจ้ํากลับสวรรค์ ทว่ําต่อมําเมื่อชนชั้นนําสยํามได้รับอิทธิพลควํามคิด ทํางตะวนั ตกทเ่ี นน้ มมุ มองเฉพําะมติ วิ ํา่ ควํามตํายคอื ควํามสญู เสยี อนั ขดั กบั ควํามรนื่ เรงิ ในงํานออก พระเมรุมําศ “ควํามเงียบ” จึงกลํายเป็นสิ่งที่ได้รับเลือกเพื่อแสดงออกเฉพําะมิติควํามเศร้ําโศก ดังกล่ําว อย่ํางไรก็ตําม ในรัชสมัยพระบําทสมเด็จพระปรมินทรมหําภูมิพลอดุลยเดช เห็นได้ชัดว่ํา สถําบนั พระมหํากษตั รยิ ไ์ ดเ้ ขํา้ มํามบี ทบําทสํา คญั ในกํารฟน้ื ฟศู ลิ ปวฒั นธรรมของชําติ ทํา ใหก้ ํารรอื้ ฟน้ื มหรสพตํามแบบอย่ํางจํารีตแต่โบรําณเป็นหน่ึงในกระบวนกํารฟื้นฟูวัฒนธรรมของชําติ ดังเห็น ได้ชัดในงํานพระเมรุมําศสมเด็จพระศรีนครินทรําบรมรําชชนนี เป็นต้นมํา
กํารมีดนตรีประกอบกํารเคลื่อนพระบรมศพสู่พระเมรุมําศ ดังเช่นท่ีปรํากฏพระรําชพิธี พระบรมศพสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทรําบรมรําชชนนี งํานพระศพสมเดจ็ พระเจํา้ พน่ี ํางเธอ เจํา้ ฟํา้ กลั ยํา ณิวัฒนํา กรมหลวงนรําธิวําสรําชนครินทร์ และกํารพระศพสมเด็จพระเจ้ําภคินีเธอ เจ้ําฟ้ําเพชรรัตน รําชสดุ ํา สริ โิ สภําพณั ณวดี แสดงใหเ้ หน็ ถงึ บทบําทหนํา้ ทส่ี ํา คญั ของดนตรใี นขนั้ ตอนกํารเปลยี่ นผํา่ น ซง่ึ กค็ อื กํารเคลอื่ นทจี่ ํากพระทนี่ งั่ ดสุ ติ มหําปรําสําทอนั เปน็ สญั ลกั ษณข์ องกํารยงั คงเสดจ็ ประทบั อยู่ ในทํา่ มกลํางพระรําชสํา นกั และประชําชน ไปสมู่ ณฑลพธิ ที อ้ งสนํามหลวง หรอื อกี แงห่ นงึ่ คอื จดุ เชอื่ ม ตอ่ ก่อนเสด็จสู่สรวงสวรรค์ผ่ํานกํารถวํายพระเพลิง ในกํารน้ีดนตรีไม่ได้มีหน้ําท่ีเพียงแค่เสริมสร้ําง ควํามอลังกํารให้แก่กระบวนรําชรถ อันช่วยเน้นย้ําควํามยิ่งใหญ่แห่งพระรําชฐํานะของพระบรมศพ คลํา้ ยกบั ทคี่ ลฟิ ฟอรด์ เกยี รซ์ (Cli ord Geertz) กลํา่ ววํา่ เปน็ ฉํากควํามยงิ่ ใหญท่ ร่ี ฐั พยํายํามแสดง ให้ประชําชนเห็นผ่ํานสัญลักษณ์ต่ํางๆ ด้วยว่ํา ยศศักดิ์เป็นสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ถูกกําหนดข้ึนโดยสวรรค์ ดังน้ันจึงอยู่เหนือควํามตําย และต้องจัดกํารอย่ํางยิ่งใหญ่อลังกํารแม้ในห้วงยํามแห่งควํามตําย (อคิน รพีพัฒน์ ๒๕๕๑: ๒๑๑) ในกรณีของพระรําชพิธีพระบรมศพ ดนตรีได้ช่วยให้เสียงในระหว่ําง เคลอื่ นพระบรมศพ ตลอดจนแสดงสญั ญะแหง่ ควํามโศกเศรํา้ อําลยั ของพสกนกิ รทงั้ แผน่ ดนิ เคลอื่ นไป พร้อมกันด้วยกํารเลือกใช้เพลงพญําโศกลอยลมเป็นเพลงหลักในกํารเคลื่อนกระบวน
เสด็จสู่แดนสรวง
๑3๘ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ