Page 145 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 145

๖
พัฒนาการธรรมเนียมไว้ทุกข์ จากระเบียบรัฐสู่มารยาทสังคม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล
ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง
บทนา
นบั แตพ่ ระบําทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหําภมู พิ ลอดลุ ยเดช เสดจ็ สวรรคต มขี อ้ ถกเถยี งมํากมําย เกี่ยวกับธรรมเนียมกํารไว้ทุกข์ โดยเฉพําะในเรื่องของกํารแต่งกํายด้วยชุดสีดําทั้งสุภําพบุรุษ และสุภําพสตรีซ่ึงเป็นขนบกํารไว้ทุกข์แบบใหม่ จนเป็นทําเกิดข้อฉงนในสังคม ทว่ําแท้ท่ีจริงแล้ว ขนบกํารไว้ทุกข์ของไทยมีควํามหลํากหลํายมํามํากต้ังแต่อดีต ทั้งนี้เพรําะมีกํารรับเอําขนบจํากโลก ภํายนอกมําไม่ว่ําจํากอินเดีย จีนและ ตะวันตก ผสมผสํานกับขนบดั้งเดิมในภูมิภําค ทําให้มี กํารพฒั นํากํารและกํารเปลยี่ นแปลงทซ่ี บั ซอ้ นตํามสงั คมและสภําวะกํารณข์ องโลก ทํา้ ยทสี่ ดุ กํารทเี่ รํา จะยดึ ตดิ วํา่ ขนบไวท้ กุ ขท์ เี่ คยเหน็ กนั เมอ่ื หลํายสบิ ปกี อ่ นเปน็ ขนบดงั้ เดมิ จงึ ไมถ่ กู ตอ้ งนกั เพรําะสะทอ้ น กํารขําดควํามเข้ําใจมิติทํางประวัติศําสตร์ไป
ในพจนํานุกรมฉบับรําชบัณฑิตยสถําน พ.ศ.๒๕๔๒ ได้ให้คําจํากัดควํามว่ํา กํารแสดง เครอ่ื งหมํายตํามธรรมเนยี มประเพณวี ํา่ ตนมที กุ ขเ์ พรําะบคุ คลสํา คญั ในครอบครวั เปน็ ตน้ วํายชนมไ์ ป แต่เอกสํารรุ่นเก่ําได้ให้สําเหตุของกํารไว้ทุกข์ ดังในประกําศนุ่งขําวว่ํา “เครื่องซึ่งแต่งตัวไว้ทุกขไป ช่วยงํานศพ” (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๓๐ก: ๓๕) และ ในประกําศเรื่องโกนผมว่ํา “ให้ข้าในกรมโกน ศีศะ เปนการแสดงความเคารพ” (ราชกิจจานุเบกษา ๒๔๔๔: ๔๔๐)
จํากกํารสืบค้นเอกสํารที่เก่ํากว่ํารัชกําลที่ ๕ เช่น หมํายโกนผมในครําวพระบําทสมเด็จ พระพทุ ธยอดฟํา้ จฬุ ําโลกมหํารําชเสดจ็ สวรรคต ประกําศโกนผมในครําวพระบําทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลํา้ เจ้ําอยู่หัวเสด็จสวรรคต พจนํานุกรมฉบับของปําลเลอกัวซ์และของบรัดเลย์ ไม่ปรํากฏศัพท์คําว่ํา “ไวท้ กุ ข”์ แตเ่ พงิ่ จะมําปรํากฏใน ราชกจิ จานเุ บกษา สมยั รชั กําลที่ ๕ ดงั นน้ั จงึ ทํา ใหเ้ ชอ่ื วํา่ มแี นว ควํามคดิ บํางประกํารที่เปลี่ยนแปลงไป
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๑43
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   143   144   145   146   147