Page 147 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 147

และชําวมอ้ ยมกี ํารแตง่ ขําวไวท้ กุ ขน์ ํา่ จะไดร้ บั อทิ ธพิ ลมําจํากเวยี ดนําม ทงั้ นเี้ พรําะสองกลมุ่ นม้ี ถี น่ิ ฐําน อยู่ในประเทศเวียดนํามปัจจุบัน
๒. สมเดจ็ พระมหําวรี วงศ์ (อว้ น ตสิ โฺ ส) ไดบ้ นั ทกึ สภําพควํามเปน็ อยู่ “ชําวญอ้ ” (บํา้ งเขยี น ว่ํา ญ่อ) ท่ีแต่เดิมอยู่ในเขตเมืองเวียงจันทน์แต่ตอนหลังถูกกวําดต้อนมําอยู่ในเขตอําเภอกันทรวิชัย ท่ํานได้บรรยํายธรรมเนียมงํานศพของชําวญ้อไว้ว่ํามีกํารเล่นกระทบสําก แต่ไม่ได้จดเร่ืองขนบ กํารแต่งกํายไว้ทุกข์ อีกทั้งท่ํานยังได้กล่ําวว่ําโดยปกติชําวญ้อ ผู้ชํายโดยปกติใส่เสื้อทอผ้ําสีดํา ผํา้ นงุ่ เปน็ ผํา้ ขงี้ ํา (เสน้ ยนื สดี ํา เสน้ พงุ่ สขี ําว) ซงึ่ กไ็ มไ่ ดเ้ กยี่ วขอ้ งกบั กํารไวท้ กุ ขแ์ ตป่ ระกํารใด (สมเดจ็ พระมหําวีรวงศ์ ๒๕๑๕: ๓๘๐-๓๘๔)
สว่ นในเขตจงั หวดั กําฬสนิ ธง์ุ ํานศพหรอื ทเี่ รยี กวํา่ “งนั เฮอื นด”ี ผทู้ มี่ ํารว่ มงํานจะไมท่ ํา อะไร เพอื่ เปน็ กํารเพม่ิ ควํามทกุ ข์ แตต่ อ้ งชว่ ยกนั ทํา ควํามรนื่ เรงิ เพอื่ ใหเ้ จํา้ บํา้ นลมื ควํามโศก มกี ํารเปํา่ แคน อ่ํานกลอน มีกํารละเล่นหลํายอย่ํางเช่น หมํากหําบ เป็นต้น แต่ก็ไม่ได้จดไว้ว่ํามีขนบกํารไว้ทุกข์ แต่ประกํารใด (สมเด็จพระมหําวีรวงศ์ ๒๕๑๕: ๔๗๓-๔๗๔)
๓. บุญช่วย ศรีสวัสด์ิ กล่ําวถึงกลุ่มชนที่อําศัยอยู่เขตจังหวัดเชียงรําย เขตยูนนําน รัฐฉําน และหลวงพระบําง พบว่ํา มีอยู่เพียงกลุ่มชนเดียวเท่ํานั้นที่มีขนบในกํารแต่งกํายสีขําวไว้ทุกข์คือ กลุ่มไตน่ําน (บุญช่วย ศรีสวัสดิ์ ๒๕๔๗) อย่ํางไรก็ตําม บุญช่วย ศรีสวัสดิ์ กล่ําวว่ํา ไตน่ํานอพยพ มําจํากจังหวัดน่ําน เป็นไปได้ว่ําอําจรับธรรมเนียมมําจํากจีนหรือไม่ก็จํากที่อื่น จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ที่จะมีกํารแต่งกํายสีขําวไว้ทุกข์
จํากข้อมูลเอกสํารที่ยกมําจะเห็นว่ํากลุ่มชนหลํายกลุ่มในเขตพื้นที่นั้นมีสภําพสังคมท่ีค่อน ข้ํางปิด อีกทั้งในเอกสํารทั้งหมดก็จดบันทึกขึ้นก่อนปี พ.ศ.๒๕๐๐ ซึ่งยังเป็นช่วงที่วัฒนธรรมจําก ทํางภําคกลํางยังแผ่เข้ําไปไม่ถึง ดังนั้น จึงน่ําที่จะสะท้อนได้ว่ําสังคมดั้งเดิมในเขตท่ีรําบลุ่มแม่น้ํา เจ้ําพระยําก่อนท่ีจะมีกํารติดต่อกับโลกภํายนอกคือ จีน อินเดีย และตะวันตก จึงไม่น่ํามีขนบกําร แต่งชุดสีขําว-ดํา รวมถึงกํารโกนผมด้วย
แต่สิ่งหนึ่งที่ถือเป็นลักษณะเด่นในธรรมเนียมที่เกี่ยวกับงํานศพของกลุ่มชนเหล่ําน้ีคือ กํารจัดงํานรื่นเริงในงํานศพ ซึ่งถ้ําเทียบเคียงกับธรรมเนียมรําชสํานักในเขตลุ่มน้ําเจ้ําพระยําแล้วก็ คือกํารสมโภชในงํานพระเมรุ
หลักฐานการไว้ทุกข์ในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙
กํารศึกษําประวัติศําสตร์โบรําณในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จําเป็นท่ีจะต้องอําศัย หลักฐํานศิลําจํารึกเป็นสําคัญ หํากแต่จํารึกที่พบจะกล่ําวถึงกํารอุทิศสิ่งของให้แก่ศําสนสถํานและ ยอพระเกียรติยศพระรําชําไม่มีกํารกล่ําวถึงธรรมเนียมหลังควํามตําย ด้วยเหตุน้ี จึงจําเป็นท่ีจะต้อง อําศัยข้อมูลจํากบันทึกของจีน
ขนบงํานศพเทํา่ ทคี่ น้ หลกั ฐํานพบมปี รํากฏอยใู่ นจดหมํายเหตขุ องรําชวงศเ์ หลยี ง ซง่ึ มอี ํายุ อยู่ในรําวครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ ๑๑ กล่ําวว่ํา ชําวฟูนันมีกํารโกนเครําโกนผมไว้ทุกข์ (Pelliot 1903: 261-262)
๖
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๑45
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   145   146   147   148   149