Page 146 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 146

ในชนั้ ตน้ ผเู้ ขยี นขอสนั นษิ ฐํานวํา่ แนวคดิ เกยี่ วกบั พธิ กี รรมศพในลมุ่ แมน่ ํา้ เจํา้ พระยําตอนลํา่ ง กอ่ นหนํา้ รชั กําลที่๕พฤตกิ รรมทเี่รําเรยี ก“ไวท้ กุ ข”์ ตํามทปี่ รํากฏในพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒คงอําจจะเปน็ เครอื่ งหมํายหรอื สญั ลกั ษณบ์ ํางประกํารของผเู้ขํา้ รว่ มประกอบพธิ กี รรมเทํา่ นนั้
สํา หรบั งํานวชิ ํากํารทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั กํารไวท้ กุ ขน์ นั้ ดเู หมอื นวํา่ จะมแี ตง่ ํานของพระยําอนมุ ําน รําชธน (ยง อนุมํานรําชธน) อธิบํายลักษณะกํารไว้ทุกข์ในกลุ่มชนต่ํางๆ หํากแต่ยังไม่มีกํารลง รํายละเอียดเกี่ยวกับกํารพัฒนําและกํารเปลี่ยนแปลงธรรมเนียมไว้ทุกข์ในลุ่มแม่น้ําเจ้ําพระยํา เท่ําที่ควร (เสฐียรโกเศศ ๒๕๓๙: ๘๓-๙๐)
ปญั หําสํา คญั ในกํารศกึ ษําธรรมเนยี มไวท้ กุ ขใ์ นอดตี คอื รอ่ งรอยหลกั ฐํานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั วตั ถุ เช่น เครื่องแต่งกํายและบันทึกแบบแผนไม่เหลือมําถึงปัจจุบัน ดังนั้น รํายละเอียดที่เกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียมไว้ทุกข์ในสังคมลุ่มแม่น้ําเจ้ําพระยําจึงไม่อําจท่ีจะสืบสําวไปได้เก่ํามําก ด้วยเหตุนี้ ผู้เขียนจึงเน้นท่ีจะกล่ําวถึงธรรมเนียมไว้ทุกข์ในสมัยรัตนโกสินทร์เป็นสําคัญ ทําให้บทควํามนี้ แบ่งธรรมเนียมกํารไว้ทุกข์ออกเป็น ๒ ช่วงเวลําหลักคือ รัฐสมัยโบรําณ และรัฐสมัยใหม่ ซึ่งสมัยใหม่ จะเร่ิมต้นเมื่อรําวรัชกําลที่ ๔-๕ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์๑
วัฒนธรรมด้ังเดิมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการไว้ทุกข์หรือไม่
ธรรมเนียมกํารไว้ทุกข์ที่ปฏิบัติกันอยู่เช่น กํารนุ่งขําวห่มขําว กํารใส่ชุดดํา หรือแม้แต่ กํารโกนผม จะเปน็ ธรรมเนยี มแตด่ งั้ เดมิ หรอื ไม่ ดเู หมอื นวํา่ สมเดจ็ ฯ เจํา้ ฟํา้ กรมพระยํานรศิ รํานวุ ดั ตวิ งศ์ ทรงมีพระวินิจฉัยเป็นพระองค์แรกว่ํา “ธรรมเนียมการไว้ทุกข์เราเอาอย่างต่างประเทศมาท้ังน้ัน ของเราเองไม่มี” (สมเด็จฯ เจ้ําฟ้ํากรมพระยํานริศรํานุวัดติวงศ์ และพระยําอนุมํานรําชธน ๒๕๒๑ข: ๒๔๔) และ “ดั้งเดิมเราไม่มีธรรมเนียมการนุ่งผ้าสีในการไว้ทุกข์ ขุนนางที่เข้าขบวนแห่ต่างก็นุ่งผ้า สมปกั ลายสตี า่ งๆ และพนกั งานทชี่ กั ราชรถรวมถงึ พนกั งานทเี่ ชญิ เครอื่ งสงู กย็ งั แตง่ แดง” (สมเดจ็ ฯ เจ้ําฟ้ํากรมพระยํานริศรํานุวัดติวงศ์ และพระยําอนุมํานรําชธน ๒๕๒๑ก: ๑๐๔-๑๐๕)
ข้อพระวินิจฉัยของพระองค์เป็นสิ่งท่ีน่ํากลับมําคิดทบทวน เพรําะแบบแผนธรรมเนียม รําชสํานักเป็นสิ่งที่มีกํารเปล่ียนแปลงได้ยําก ด้วยสําเหตุว่ํากํารเปล่ียนแปลงจะกระทบกระเทือน พธิ กี รรมอนั ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ นอกจํากนี้ ผเู้ ขยี นไดต้ รวจสอบขนบของกลมุ่ ชําตพิ นั ธท์ุ ไี่ ดต้ งั้ หลกั แหลง่ อยลู่ กึ เข้ําไปในภูมิภําคด้วย ดังต่อไปนี้
๑. จอมพล เจ้ําพระยําสุรศักด์ิมนตรี (เจิม แสง–ชูโต) เม่ือครั้งเป็นแม่ทัพยกพลไปท่ี หลวงพระบํางไดจ้ ดบนั ทกึ เรอื่ งรําวกํารดํา รงชวี ติ ของกลมุ่ ชนในบรเิ วณพนื้ ทแ่ี ถบนน้ั แตม่ เี รอื่ งแปลก บํางประกํารคือ ไม่มีกํารกล่ําวถึงกํารไว้ทุกข์ ยกเว้น “ชําวม้อย” ที่กล่ําวว่ํา ถ้ําบิดําตํายนุ่งขําว ๓ ปี มํารดําตํายนุ่งขําว ๒ ปี (เจ้ําพระยําสุรศักดิ์มนตรี ๒๕๑๕: ๒๔๑-๒๙๖)
แต่อย่ํางไรก็ตํามจํากหลักฐํานภําพถ่ํายเก่ํางํานศพชําวไทดําของคําบุนอวําย เจ้ําเมืองม่ัวะ พบว่ํามีกํารแต่งขําวในงํานศพ (ยุกติ มุกดําวิจิตร ๒๕๕๗: ๔๔-๔๖) สันนิษฐํานว่ํา กํารที่ชําวไทดํา
๑ พระอิสริยศ และ ฐํานันดรศักด์ิ เจ้ํานําย รวมถึง เนื้อควํามที่เก่ียวข้อง จะคงตํามข้อควํามท่ียกมําจํากเอกสําร ต้นฉบับ เช่น รําชกิจจํานุเบกษํา เป็นต้น
เสด็จสู่แดนสรวง
๑44 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   144   145   146   147   148