Page 148 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 148

ในจดหมํายเหตขุ องมํา้ ตวนลนิ ซงึ่ มอี ํายใุ นรําวกลํางพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ ไดก้ ลํา่ ววํา่ ชําวเมอื ง จิถูซึ่งต้ังอยู่บนคําบสมุทรมลํายู เม่ือบิดํา มํารดํา หรือพ่ีชํายถึงแก่กรรม เขําผู้นั้นจะโกนศีรษะและ นงุ่ หม่ ขําว และยงั ไดก้ ลํา่ ววํา่ ในอําณําจกั รจํามปํา สํา หรบั ผตู้ ํายทไ่ี มม่ บี รรดําศกั ดเิ์ ขํากจ็ ะเกบ็ กระดกู ไวใ้ นภําชนะดนิ เผําและทงิ้ ลงไปในแมน่ ํา้ สว่ นญําตหิ ญงิ ชํายของผตู้ ํายจะเดนิ ตํามขบวนศพและตดั ผม ของตนก่อนที่จะออกมําจํากฝั่งแม่น้ํา สิ่งน้ีเป็นส่ิงเดียวท่ีแสดงถึงกํารไว้ทุกข์อย่ํางสั้นๆ (Coedès 1968: 49-50, 79)
จํากบนั ทกึ ขํา้ งตน้ ทย่ี กมํานที้ ํา ใหเ้ รําพอทรําบไดว้ ํา่ ในชว่ ง พ.ศ.๑๑๐๐-๑๒๐๐ ในพนื้ ทเี่ อเชยี ตะวันออกเฉียงใต้เร่ิมมีขนบไว้ทุกข์แล้ว
อยํา่ งไรกต็ ําม ในบนั ทกึ ของจวิ ตํากวน (โจวตํา้ กวําน) ชําวจนี ทเี่ ขํา้ มํายงั เมอื งยโศธรปรุ ะ (กมั พชู ํา) ในปี พ.ศ.๑๘๓๙ ได้จดบันทึกว่ํา “ในการตายของบิดามารดาไม่มีเครื่องแต่งกายไว้ทุกข์ แต่บุตรชายน้ันจะโกนผมบนศีรษะ บุตรหญิงจะตัดผมท่ีเหนือหน้าผากให้เป็นวงขนาดเท่าอีแปะ เป็นการไว้ทุกข์ให้”๒ (เฉลิม ยงบุญเกิด ๒๕๔๓: ๒๙; Pelliot 1951: 24)
จํากบันทึกของจิวตํากวนเรําไม่อําจท่ีจะทรําบได้ว่ํา จิวตํากวนเม่ือเข้ํามําอยู่ในเมืองยโศธร ปุระจะได้เห็นงํานศพกี่ครั้ง แต่บันทึกฉบับก็ชี้ให้เห็นว่ําอย่ํางน้อยในช่วงเวลํานั้นมีขนบกํารโกนผม ไว้ทุกข์ แต่ในบันทึกไม่มีกํารแต่งกํายไว้ทุกข์จึงสํามํารถตีควํามได้ ๒ แนวทํางคือ
๑. ชําวเมอื งยโศธรปรุ ะสมยั นน้ั มกี ํารแตง่ กํายไวท้ กุ ข์ แตไ่ มเ่ ปน็ แบบธรรมเนยี มที่ จวิ ตํากวนคุ้นเคย
๒. ชําวเมืองยโศธรปุระไม่มีกํารแต่งกํายไว้ทุกข์ แต่มีเพียงกํารโกนผมไว้ทุกข์เท่ําน้ัน ในประเดน็ นผี้ เู้ ขยี นมคี วํามคดิ ทโี่ นม้ เอยี งวํา่ ชําวเมอื งยโศธรปรุ ะไมม่ กี ํารนงุ่ ขําวในงํานศพ เพรําะไมเ่ ชน่ นนั้ จวิ ตํากวนคงจะมกี ํารบนั ทกึ เอําไว้ ดงั เชน่ เอกสํารจนี ฉบบั อนื่ ๆ ทก่ี ลํา่ วถงึ กอ่ นหนํา้ นี้
อย่ํางไรก็ดี สิ่งหนึ่งที่เป็นธรรมเนียมร่วมกันก็คือ กํารโกนผมไว้ทุกข์ จํากที่ได้กล่ําวไปแล้วข้ํางต้นว่ําขนบงํานศพของกลุ่มชนตํา่ งๆ ไม่มีแต่งกํายไว้ทุกข์จึงเช่ือ
ได้ว่ําธรรมเนียมที่ดินแดนแถบนี้รับเอํามําจํากโลกภํายนอก ด้วยเหตุดังกล่ําวจึงนําสู่ข้อสันนิษฐําน ดังต่อไปน้ี
๑. เนอื่ งจํากธรรมเนยี มในอนิ เดยี ไมป่ รํากฏกํารนงุ่ ผํา้ ขําวในกํารศพ ทงั้ นเี้ พรําะศพั ทค์ ํา วํา่ ผ้ํานุ่งในภําษําฮินดี คือ “โธตี” มีควํามหมํายอีกอย่ํางว่ําผ้ําสะอําดหรือผ้ําขําว (สัมภําษณ์ จิรพัฒน์ ประพันธวิทยํา ๖ กุมภําพันธุ์ ๒๕๖๐) อีกทั้งคนอินเดียก็นุ่งกันอยู่ในชีวิตประจําวัน ดังนั้น จึงชวน ให้คิดว่ํากํารนุ่งขําวน่ําจะมําจํากทํางฝั่งจีน เพรําะศัพท์คําว่ําไว้ทุกข์ “服喪” (Fu Sang) พิจํารณํา จํากรูปศัพท์ก็เน้นท่ีเครื่องแต่งกํายเป็นหลัก และศัพท์คํานี้ก็มีปรํากฏมําในเอกสํารเรื่อง พงศําวดําร รําชวงศ์ฮั่นยุคหลัง๓ และที่สําคัญจํากหลักฐํานภําพถ่ํายเก่ําในงํานพระศพฮองไทเฮําซูสี ขุนนํางในที่ เขํา้ รว่ มพธิ กี ย็ งั ไวเ้ ปยี หรอื แมว้ ํา่ ในงํานศพจนี ในคําบสมทุ รมลํายกู ไ็ มป่ รํากฏวํา่ มกี ํารโกนผมไวท้ กุ ข์
๒ ข้อควํามท่ีเก่ียวกับกํารไว้ทุกข์ของสตรี อําจํารย์เฉลิม ยงบุญเกิด กับ เปลลิโอต์ แปลไม่ตรงกัน ฉบับของ เปลลิโอต์ว่ํา โกนผมมวย
๓ ข้อควํามในพงศําวดํารฮนั่ ยคุ หลงั วํา่ 後漢書.卷三十七.桓榮傳:「典獨棄官收斂歸葬,服喪三年,負土成墳,為立祠堂,盡禮而去
เสด็จสู่แดนสรวง
๑4๖ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   146   147   148   149   150