Page 168 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 168

“กราบถวายบังคมพระบรมศพ”
ถึงแม้ว่ํา นับแต่ต้นรัตนโกสินทร์ในงํานพระเมรุของกษัตริย์ รําษฎรจะมีโอกําสได้ชมและ ร่วมงํานมหรสพ แต่ก็ไม่เคยมีโอกําสได้กรําบถวํายบังคมพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิตมหําปรําสําท ดังเช่นท่ีเห็นในปัจจุบัน ทั้งน้ีเป็นผลมําจํากกํารเปลี่ยนแปลงทํางควํามคิดเก่ียวกับรัฐที่ประชําชน ได้กลํายเป็นส่วนหนึ่งของชําติ ประกอบกับองค์พระมหํากษัตริย์เองก็วํางตนให้ใกล้ชิดกับรําษฎร มํากขน้ึ ทง้ั ในพน้ื ทส่ี ําธํารณะ และพระรําชพธิ ตี ํา่ งๆ ดว้ ยเหตนุ เ้ี อง จงึ ทํา ใหร้ ําษฎรรสู้ กึ มคี วํามผกู พนั กับกษัตริย์แตกต่ํางไปจํากในสมัยรัฐจํารีต ดังเห็นได้จํากเมื่อรัชกําลที่ ๕ เสด็จสวรรคต “...ราษฎร ทั้งหลายไม่เลือกว่าชั้นใด ชาติใด เม่ือได้ทราบข่าวว่า สมเด็จพระบรมชนกนาถ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตเสียแล้ว ต่างพากันโศกเศร้า โศกาอาดูรด้วยความจงรักภักดีต่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท จนถึงเวลาเมื่อเชิญพระบรมศพมาสู่ พระบรมมหาราชวังก็ยังอุตส่าห์พากันมาร่าร้องไห้เสียงเซ็งแซ่ตลอดสองข้างทาง บางหมู่ก็พากัน เดินตามพระบรมศพมาจนถึงพระบรมมหาราชวัง เจ้าพนักงานจะห้ามปรามสักเท่าใดๆ ก็ไม่ฟัง” (ย้ิม ปัณฑยํางกูร ๒๕๓๕: ๖๓-๖๔)
นอกจํากนี้ ถ้ําหํากย้อนกลับไปอ่ํานวรรณกรรมเก่ําๆ เช่น อิเหนา กลุ่มคนท่ีโศกเศร้ํา เสียใจนั้นจะเป็นเฉพําะข้ํารําชบริพํารและพระญําติของกษัตริย์เท่ําน้ัน และรําษฎรสํามํารถอยู่ได้ ในพื้นที่ที่จัดงํานมหรสพเท่ําน้ัน ในส่วนของมณฑลพิธีนั้นไม่สํามํารถเข้ําร่วมได้ ทั้งหมดนี้ แตกต่ําง จํากภําพที่เห็นจํากงํานพระบรมศพสมัยรัชกําลท่ี ๕ ตํามข้อควํามข้ํางต้นน้ี ไม่ว่ําอย่ํางไรก็ตําม ดว้ ยบรรยํากําศทรี่ ําษฎรพํากนั รํา่ ไห้ และดว้ ยสํา นกึ ของชนชน้ั นํา สยํามทมี่ ตี อ่ รําษฎรทเี่ ปลยี่ นแปลงไป ทําให้พระบําทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ําเจ้ําอยู่หัว รัชกําลที่ ๖ มีพระมหํากรุณําเปิดโอกําสให้รําษฎร ได้เข้ําถวํายบังคมพระบรมศพ โดยพระรําชทํานพระบรมรําชวโรกําสเพียงเดือนละไม่กี่วัน แต่ก็นับ เป็นครั้งแรกที่สํามัญชนได้มีส่วนร่วมกรําบพระบรมศพถึงในพระบรมมหํารําชวัง ซ่ึงไม่เคยปรํากฏ มําก่อนในรัชกําลก่อนหน้ํานี้ ดังควํามว่ํา
“[รัชกาลที่ ๖]...ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศมาว่า ถ้าราษฎร ทั้งหลายไม่เลือกว่าชั้นใด ชาติใด ภาษาใด ชายหรือหญิง แม้มีความประสงค์จะมา แสดงความจงรักภักดีต่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทกราบถวายบังคมพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้ามาได้เดือนละคร้ัง ตามกาหนดวันเวลาดังนี้ คือ วันที่ ๑ วันที่ ๒ วันที่ ๓ วันที่ ๔ วันที่ ๕ เดือนพฤศจิกายน ตรงกับวันอังคาร แรม ๑๔ ค่า เดือน ๑๑ วันพุธ ขึ้น ๑ ค่า เดือน ๑๒ วันพฤหัสบดี ขึ้น ๒ ค่า เดือน ๑๒ วันศุกร์ ข้ึน ๓ ค่า เดือน ๑๒ วันเสาร์ ข้ึน ๔ ค่า เดือน ๑๒ ตั้งแต่เวลาบ่ายโมงไปจนถึงเวลาบ่าย ๕ โมงครึ่ง ส่วนเดือนธันวาคมแลเดือนต่อๆ ไป ก็คงมีกาหนดวันที่ ๑ ที่ ๒ ท่ี ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ เวลาเดียวกัน จนกว่าจะได้ถวายพระเพลิง...”
(ยิ้ม ปัณฑยํางกูร ๒๕๓๕: ๖๔)
เสด็จสู่แดนสรวง
๑๖๖ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   166   167   168   169   170