Page 199 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 199

ในรูปของร้อยกรอง แต่ฉํากงํานพระศพในวรรณคดีนิทํานสมัยอยุธยําถึงรัตนโกสินทร์ก็ได้สะท้อน ให้เห็นร่องรอยและพลวัตของศําสนําและควํามเชื่ออันหลํากหลํายของสังคมไทย ท้ังน้ีเป็นเพรําะ ศําสนําผีท่ีเป็นศําสนําด้ังเดิมไม่เคยตําย หํากแต่ผสมผสํานเข้ํากับควํามเช่ือจํากภํายนอกทั้งพุทธ และพรําหมณ์ รวมถงึ คนไทยเองยงั มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั ชนชําตหิ ลํากชําตพิ นั ธแ์ุ ละศําสนําทํา ใหพ้ บเหน็ พิธีศพต่ํางๆ
มุมมองต่อควํามตํายของไทยแต่ดั้งเดิมมีลักษณะเป็น “โศกอันเกษม” ซ่ึงนับเป็นลักษณะ เดน่ ประกํารหนงึ่ ของงํานศพในอษุ ําคเนยท์ ไี่ มเ่ นน้ ควํามโศกเศรํา้ เพยี งอยํา่ งเดยี ว หํากมงี ํานมหรสพ ร่วมด้วย แต่เหตุที่งดให้งํานศพเหลือเพียงควํามโศกเศร้ํานั้นเกิดขึ้นในสมัยรัชกําลที่ ๖ เท่ํานั้น
นอกจํากนี้แล้ว ฉํากงํานพระศพในวรรณคดียังสะท้อนให้เรําเห็นถึงเรื่องรําวในอดีต ได้อีกหลํายแง่มุม ตัวอย่ํางเช่นกํารสะท้อนควํามสัมพันธ์ระหว่ํางเมืองหลวงกับเมืองบริวํารในลิลิต พระลอ ท่ีเมื่อมีงํานพระศพจะมีกํารเชิญทูตแต่ละเมืองมําเป็นส่วนใหญ่ ควํามว่ํา “แล้วธก็ตรัสให้หา ทูตานุทูตมาไซร้ ให้จาทูลพระราชสาสน์ อีกบรรณาการเหลือหลาย ไปถวายแด่พระบาท ไท้ธิราช บุญเหลือ เครือทินกรราชชนนี ภควดีฟังพจนสาร ถ้วนทุกประการประกาศ” ซึ่งแสดงถึงพระบํารมี ของกษัตริย์ผู้ล่วงลับ และกํารหย่ังเชิงบรรดําเมืองบริวํารว่ํายังจงรักภักดีต่อกษัตริย์พระองค์ใหม่ หรือไม่
อําจกล่ําวได้ว่ํา วรรณคดีไม่ได้มีคุณค่ําเพียงเพื่อสุนทรียศําสตร์เท่ํานั้นหํากแต่ยังบรรจุ ด้วยมิติทํางประวัติศําสตร์ สังคม และวัฒนธรรมท่ียังรอให้วิเครําะห์และตีควํามอีกนํานัปกําร
๘
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๑๙๗
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   197   198   199   200   201