Page 204 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 204

พิธีกงเต๊กของราชสานักไทย
“จนี -ไทยมใิ ชอ่ นื่ ไกลพนี่ อ้ งกนั ” เปน็ คํา พดู ทหี่ ลํายคนคงไดย้ นิ ไดฟ้ งั กนั มํานําน แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ควํามสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวํา่ งไทย-จนี ทมี่ มี ํากวํา่ ๗๐๐ ปี วถิ กี ํารดํา รงชพี วฒั นธรรม ประเพณหี ลํายสงิ่ หลํายอยํา่ งทพ่ี บเหน็ ในสงั คมไทยปจั จบุ นั คงยํากทจ่ี ะปฏเิ สธไดว้ ํา่ เปน็ ของไทยมําแตโ่ บรําณทตี่ กทอด สืบต่อกันมํา โดยไม่ได้รับมําจํากวัฒนธรรมอ่ืนๆ เลยแม้แต่น้อย “กงเต๊ก” เป็นพิธีกรรมท่ีประกอบ ในงํานศพของชําวจีน ได้เข้ํามํามีบทบําทในสังคมไทยมําช้ํานําน ซึ่งทํางรําชสํานักไทยได้รับมําจําก จนี และญวน (เวยี ดนําม) อยํา่ งแนน่ อน ทงั้ นตี้ อ้ งเขํา้ ใจวํา่ ประเทศเวยี ดนํามในอดตี กร็ บั เอําวฒั นธรรม จีนไปปรับใช้เป็นจํานวนมําก โดยเฉพําะประเพณีและพิธีกรรมของทํางรําชสํานัก
จุดเริ่มต้นของกงเต๊กหลวง
พธิ กี งเตก๊ เรมิ่ จดั ขน้ึ ในสงั คมไทยเมอื่ ไรนนั้ ยงั ไมส่ ํามํารถระบชุ ชี้ ดั ได้ โดยเฉพําะอยํา่ งยงิ่ พธิ ี กงเต๊กที่สํามัญชนคนท่ัวไปจัดข้ึนไม่มีเอกสํารบันทึกไว้ (แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย ๒๕๕๔: ๔) หํากแต่ เชื่อได้ว่ําคงมีมําแต่คร้ังสมัยกรุงศรีอยุธยําแล้ว เพรําะมีชุมชนชําวจีนอยู่อําศัยและทํากํารค้ําตํามที่ ปรํากฏในเอกสํารทํางประวัติศําสตร์ (เศรษฐพงษ์ จงสงวน ๒๕๕๙: ๑๔๗)
พิธีกงเต๊กหลวงหรือพิธีกงเต๊กที่ทํางรําชสํานักได้มีพระบรมรําชํานุญําตให้ประกอบพิธี ขึ้นนั้น กล่ําวกันว่ํามีมําแต่คร้ังสมัยกํารถวํายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระน่ังเกล้ําเจ้ําอยู่หัว รัชกําลที่ ๓ แห่งรําชจักรีวงศ์ ซ่ึงพระบําทสมเด็จพระจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว โปรดเกล้ําให้ทําเป็น คร้ังแรก ดังปรํากฏหลักฐํานใน พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ ดังนี้
“ลุศักราช ๑๒๑๔ ปีชวดจัตวาศก เป็นปีที่ ๒ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ เร่งรัดทาการพระเมรุให้ทันในฤดูแล้ง เจ้าพนักงานจัดการทาพระเมรุขนาดใหญ่สูง ตลอดยอด ๒ เส้น...มีเครื่องประดับในพระบรมศพครบทุกสิ่งประการตามเยี่ยงอย่าง ประเพณีพระบรมศพมาแต่ก่อน
มกี ารวเิ ศษออกไปกวา่ พระเมรแุ ตก่ อ่ น คอื เจาะผนงั เปน็ ชอ่ งกล ทา เปน็ ซมุ้ ยอด ประกอบติดกับผนัง ทาเรือนตะเกียงใหญ่ในระหว่างมุขทั้งสี่ เป็นที่ประกวดประขันกัน อย่างยิ่ง ขอแรงในพระบวรราชวังซุ้มหนึ่ง ในสมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่ซุ้มหนึ่ง สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อยซุ้มหนึ่ง เจ้าพระยานิกรบดินทร์ซุ้มหนึ่ง ซุ้มตะเกียงน้ัน สงู ๓ วา มเี ครอื่ งประดบั แลเรอื นไฟเปน็ การชา่ งตา่ งๆ มรี ปู ลน่ั ถนั สงู ๖ ศอก ขา้ งประตู ทุกประตูมีศาลาหลวงญวนทากงเต๊ก ๗ วัน ๗ คืน แล้วโปรดให้เจ้าสัวเจ้าภาษี ผลดั เปลยี่ นกนั เขา้ ไปคา นบั พระบรมศพตามอยา่ งธรรมเนยี มจนี มเี ครอ่ื งเซน่ ทกุ วนั ...”
(เจ้ําพระยําทิพํากรวงศ์ ๒๕๔๘: ๖๓)
จํากควํามข้ํางต้นจะเห็นได้ว่ํา พิธีกงเต๊กหลวงในสมัยนั้นมีขึ้นหลังจํากสร้ํางพระเมรุแล้ว โดยมีพระญวนเป็นผู้ประกอบพิธี ซึ่งล้นเกล้ํารัชกําลที่ ๔ มีพระบรมรําชํานุญําตโปรดเกล้ําให้มีขึ้น ดังน้ัน จึงกลํายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของรําชสํานักไทย กล่ําวคือเมื่อเจ้ํานํายส้ินพระชนม์จะมี กํารนิมนต์พระญวนและจีนนิกํายมําประกอบพิธีกรรมดังกล่ําว
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๐๒ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   202   203   204   205   206