Page 206 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 206
นอกจํากนน้ั แลว้ ยงั จะพบวํา่ กษตั รยิ ไ์ ทยสมยั รตั นโกสนิ ทรห์ ลํายพระองคม์ พี ระนํามแบบจนี อีกด้วย เช่น รัชกําลที่ ๑ มีพระนํามว่ํา “เจิ้งหัว” (郑华) รัชกําลท่ี ๒ มีพระนํามว่ํา “เจิ้งฝัว” (郑佛) รัชกําลท่ี ๓ มีพระนํามว่ํา “เจ้ิงฝู” (郑福) รัชกําลที่ ๔ มีพระนํามว่ํา “เจ้ิงหมิง” (郑明) และรัชกําล ที่ ๕ มีพระนํามว่ํา “เจิ้งหลง” (郑隆) เป็นต้น อนึ่งพระบรมสําทิสลักษณ์ของล้นเกล้ํารัชกําลท่ี ๔ และ รชั กําลท่ี ๕ ยงั ทรงฉลองพระองคแ์ บบจกั รพรรดจิ นี ดว้ ย สว่ นธรรมเนยี มกํารบชู ําพระปํา้ ยในเทศกําล ตรุษสํารทก็เป็นอีกร่องรอยหนึ่งท่ีเห็นถึงกํารรับเอําวัฒนธรรมจีนมําสู่รําชสํานักไทย ขณะเดียวกัน รําชสํานักเองก็ได้เพ่ิมเติมบํางอย่ํางในวัฒนธรรมประเพณีที่รับมําเช่นกัน อําทิ กํารพระรําชกุศล เลี้ยงพระตรุษจีน เป็นต้น ซึ่งธรรมเนียมดังกล่ําวเกิดขึ้นในแผ่นดินพระบําทสมเด็จพระนั่งเกล้ํา เจ้ําอยู่หัว รัชกําลที่ ๓ (พระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว ๒๕๕๖: ๑๔๕) สิ่งต่ํางๆ เหล่ํานี้ แสดงให้เห็นถึงกํารรับเอําวัฒนธรรมที่ดีงํามของจีนมําปรับใช้ในรําชสํานักไทย โดยเฉพําะอย่ํางยิ่ง คือกํารรับเอําวัฒนธรรมที่เก่ียวข้องกับควํามกตัญญู ซึ่งกํารบูชําพระป้ํายในเทศกําลสําคัญๆ นั้น ก็คือกํารบูชําบรรพบุรุษเป็นธรรมเนียมที่ลูกหลํานชําวจีนควรปฏิบัติอย่ํางเคร่งครัด
เหตุท่ีพระญวนเป็นผู้ประกอบพิธีกงเต๊กหลวงในยุคแรกๆ นั้น เป็นเพรําะว่ําชําวญวน จํานวนมํากได้อพยพลี้ภัยสงครํามมําตั้งแต่ปลํายสมัยธนบุรีแล้ว ต่อมําในรัชสมัยพระบําทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้ําจุฬําโลกมหํารําชได้มีกํารตั้งวัดญวนขึ้น จึงได้นิมนต์พระสงฆ์ ซึ่งบวชมําจําก ประเทศญวนมําประจํา ในไทย คณะสงฆญ์ วนชดุ แรกๆ มพี ระผใู้ หญท่ สี่ ํา คญั ๒ รปู คอื พระครคู ณําณมั สมณําจํารย์ (ฮงึ ) และพระครสู มณํานมั สมณําจํารย์ (เหยยี่ วกรํา่ ม) เปน็ ผนู้ ํา ของคณะสงฆอ์ นมั นกิ ําย ในสมัยนั้น
วัดญวนในประเทศไทยถือกําเนิดข้ึนก่อนวัดจีน ในสมัยรัชกําลที่ ๓ ช่วงท่ีสมเด็จฯ เจ้ําฟ้ํา มงกุฎ (ต่อมํา คือ พระบําทสมเด็จพระจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว) ขณะทรงพระผนวชอยู่ ทรงสนพระทัย ในลัทธิประเพณีและกํารปฏิบัติของพระสงฆ์ฝ่ํายมหํายําน ซึ่งในขณะนั้นพระสงฆ์ฝ่ํายมหํายําน มีแต่ฝ่ํายอนัมนิกํายยังไม่มีฝ่ํายจีนนิกําย จึงโปรดให้นิมนต์ “องฮึง” เจ้ําอําวําสวัดญวนตลําดน้อย ในขณะนนั้ เขํา้ เฝํา้ ซงึ่ ทรงถกู พระรําชอธั ยําศยั เปน็ อยํา่ งดี เมอื่ เสดจ็ ขน้ึ ครองรําชยแ์ ลว้ กท็ รงพระกรณุ ํา โปรดเกล้ําให้คณะสงฆ์ฝ่ํายอนัมนิกําย เข้ํามําอยู่ในพระบรมรําชูปถัมภ์ และอยู่ในสถํานะดังกล่ําว เรื่อยมํา แม้จะมีกํารผลัดเปลี่ยนรัชกําลมําจนถึงปัจจุบันก็ยังได้พระรําชทํานเงินช่วยเหลือ ในกํารปฏิสังขรณ์และโปรดเกล้ําให้พระสงฆ์ญวนเข้ําเฝ้ําเป็นประจํา รวมถึงยังให้มีพิธีกรรมตําม ควํามเชื่อของฝ่ํายอนัมนิกํายในพระรําชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษําและพิธีอ่ืนๆ อันเป็นประเพณี ที่ปฏิบัติสืบเน่ืองมําจนปัจจุบันอีกด้วย
เมื่อพระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัวเสด็จข้ึนครองรําชย์ในปี พ.ศ. ๒๔๑๑ ได้ทรง ปฏิบัติตํามแบบอย่ํางสมเด็จพระบรมชนกนําถ ในเร่ืองที่เกี่ยวกับกํารอุปถัมภ์และกํารปฏิสังขรณ์ วัดญวน โดยพระรําชทํานเงินช่วยเหลือ ในกํารปฏิสังขรณ์วัดญวนตลําดน้อยอีกคร้ัง และได้ พระรําชทํานนํามใหม่ว่ํา “วัดอุภัยรําชบํารุง” คําว่ํา “อุภัย” แปลว่ํา สอง หมํายถึงพระอํารํามท่ีได้ รับพระบรมรําชูปถัมภ์จํากพระมหํากษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ พระบําทสมเด็จพระจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว และพระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว นอกจํากนี้ ยังได้โปรดเกล้ําพระรําชทํานสมณศักดิ์
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๐4 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ