Page 205 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 205
กํารท่ีพระบําทสมเด็จพระจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัวมีพระรําชดําริให้จัดพิธีกงเต๊กถวํายล้นเกล้ํา รัชกําลท่ี ๓ นั้น มีเหตุผลหลํายประกําร (ตะเกียงคู่ ๒๕๓๔: ๑๖-๒๘)
๑. พระภรรยําเจ้ําของพระองค์ทรงมีเช้ือสํายจีนอําทิเจ้ําจอมมํารดําอึ่งซึ่งเป็นธิดํา ของเจ้ําพระยํานิกรบดินทร์ (โต) ต้นสกุล “กัลยําณมิตร” เจ้ําจอมมํารดําเขียว ซ่ึงเป็นธิดํา ของกรมขุนสุนทรภูเบศร์ (จีนเรือง สุนทรกุล ณ ชลบุรี) เศรษฐีชําวเมืองบํางปลําสร้อย เจํา้ จอมอรณุ ซงึ่ เปน็ ธดิ ําหลวงเดชนํายเวร (สดุ ไกรฤกษ)์ ผสู้ บื เชอื้ สํายจํากชําวจนี ฮกเกยี้ น แซ่หลิน (林) เป็นต้น
๒. ควํามสํามํารถในด้ํานกํารค้ําสําเภํากับชําวจีน ต้ังแต่เม่ือคร้ังยังทรงพระยศเป็น กรมหม่ืนเจษฎําบดินทร์ จนได้รับพระฉํายําจํากพระรําชบิดําตรัสล้อว่ํา “เจ้ําสัว” ซึ่งช่วง ระยะเวลําดังกล่ําวถือเป็นยุคทองแห่งกํารค้ําสําเภําระหว่ํางไทย-จีน
๓. มีพระรําชศรัทธําในกํารพระพุทธศําสนําอย่ํางแรงกล้ํา กล่ําวคือ พระอํารําม ทพ่ี ระองคท์ รงสรํา้ ง มอี ยดู่ ว้ ยกนั ๓ วดั พระอํารํามทท่ี รงปฏสิ งั ขรณ์ มอี ยดู่ ว้ ยกนั ๕๓ วดั นอกจํากนน้ั แลว้ พทุ ธเจดยี ท์ พ่ี ระองคท์ รงสรํา้ งหรอื ปฏสิ งั ขรณ์ มอี ยดู่ ว้ ยกนั ๒๓ องค์ (กรม ศิลปํากร ๒๕๔๐: ๑๙-๒๓) จนมีคํากล่ําวกันมําว่ํา “ในรัชกําลที่ ๑ น้ัน ถ้ําใครเข้มแข็งใน กํารศึกสงครํามก็เป็นคนโปรด ในรัชกําลท่ี ๒ ถ้ําใครเป็นจินตกวีก็เป็นคนโปรด ในรัชกําล ที่ ๓ ถ้ําใครใจบุญสร้ํางวัดวําอํารํามก็เป็นคนโปรด”
๔. ทรงมคี วํามชนื่ ชอบในศลิ ปะจนี ผรู้ บั ใชใ้ ตเ้ บอื้ งพระยคุ ลบําทสว่ นหนงึ่ เปน็ จนี หรอื อําจเป็นเพรําะกํารที่ผู้คนใกล้ชิดพระองค์ท่ํานล้วนแต่แต่งสําเภําไปค้ําขํายกับชําวจีน จึง ทํา ใหเ้ กดิ ควํามชนื่ ชอบทจี่ ะนํา ศลิ ปะจนี มําประยกุ ตเ์ พอื่ ประดบั ตกแตง่ ในพระอํารํามตํา่ งๆ แมแ้ ตพ่ ระทนี่ งั่ ภํายในพระบรมมหํารําชวงั บํางองคก์ ม็ คี วํามเปน็ จนี อยมู่ ําก ซง่ึ งํานศลิ ปกรรม โดยเฉพําะดํา้ นสถําปตั ยศลิ ปท์ ไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลจํากศลิ ปะจนี ในยคุ นี้ นยิ มเรยี กวํา่ ศลิ ปะ “แบบ นอกอยํา่ ง” ซงึ่ มคี วํามแตกตํา่ งจําก “แบบประเพณนี ยิ ม” ทมี่ มี ําแตเ่ ดมิ (ศกั ดช์ิ ยั สํายสงิ ห์ ๒๕๕๑: ๘-๙) หรืออําจจะเรียกว่ํา “ศิลปะแบบพระรําชนิยม รัชกําลที่ ๓” ก็ได้ เหตุผลข้ํางต้นเป็นเพียงข้อสันนิษฐํานถึงกํารเกิดขึ้นของพิธีกงเต๊กหลวงหรือกงเต๊กที่ทําง
รําชสํานักจัดขึ้นเพื่อถวํายในงํานพระรําชพิธีพระบรมศพของพระบําทสมเด็จพระนั่งเกล้ําเจ้ําอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ.๒๓๙๕ หํากเมื่อได้ศึกษําถึงเชื้อสํายแห่งรําชจักรีวงศ์จะพบว่ํา พระอัครชํายํา (หยก) แหง่ องคส์ มเดจ็ พระปฐมบรมมหําชนกกเ็ ปน็ ธดิ ําของจนี กมิ คหบดชี ําวจนี ประสตู ทิ บี่ ํา้ นภํายในกํา แพง พระนคร ด้ํานทิศตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป้อมเพชร ซ่ึงเป็นย่ํานอําศัยของชําวจีนในรัชสมัย สมเด็จพระเจ้ําอยู่หัวบรมโกศ (กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมํากูร ๒๕๔๙: ๓) จํากเอกสํารของมิชชันนํารี ชําวอเมริกันท่ีช่ือ นํางเอ็น.เอ.แมคโดนัลด์ เมื่อครั้งเดินทํางมํายังประเทศไทยได้บรรยํายไว้ว่ํา “ชาวจีนผู้มั่งค่ังมักจะกลายเป็นที่โปรดปรานของกษัตริย์ผู้ปกครอง และได้รับแต่งตั้งเป็นขุนนาง มียศถาบรรดาศักดิ์ และขุนนางเหล่าน้ีจะถวายลูกสาวของพวกเขาแต่พระเจ้าแผ่นดินเป็น การตอบแทน ดังน้ัน เราจะพบว่ามีเชื้อสายชาวจีนอยู่ในราชวงศ์ของสยาม” (สํานักวรรณกรรมและ ประวัติศําสตร์ ๒๕๕๗: ๑๑๐)
๙
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๐3
เสด็จสู่แดนสรวง