Page 262 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 262
พระเมรลุ อ้ มรอบดว้ ยรําชวตั ิ โดยหนํา้ ประตรู ําชวตั ติ งั้ รปู กนิ นรและกนิ รยี นื พนมมอื หนํา้ มขุ พระเมรดุ ํา้ นทศิ ตะวนั ตกตงั้ รปู ยกั ษย์ นื ถอื กระบอง ทศิ ตะวนั ออกตงั้ รปู กนิ นรยนื พนมมอื รอบพระเมรุ ตั้งเสําฉัตรเหมือนเสําธงเป็นที่ปักฉัตร ๗ ช้ันติดธงชํายห่ํางกันเป็นระยะ ใกล้เคียงกับที่คาให้การขุน หลวงวดั ประดทู่ รงธรรมบรรยํายไวว้ ํา่ “รอบฐานปนู ภายนอกพระเมรตุ ามมมุ ระหวา่ งมขุ ทงั้ ส่ีมซี มุ้ มณฑป กินนรและเทพยดามุมละสองซุ้ม ตามชานพระเมรุตีแตะเรือกไม้ไผ่ รอบพระเมรุท่ีสุดชานเรือก พระเมรุ มีราชวัติทึบแผงเขียนเรื่องรามเกียรต์ แล้วปักฉัตร์ทองนาคเงินอย่างและเก้าชั้น ปักรายไป ตามราชวัติทึบรอบพระเมรุ” (คาให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๕๐) จึงเป็นไปได้ ที่ภําพรําชวัติรอบพระเมรุสมเด็จพระเพทรําชําน่ําจะได้แก่รําชวัติทึบ
๒. เมรุทิศและสามสร้าง พระเมรุ รําชวัติทึบ และเสําฉัตร ๗ ชั้น ทอง นําก เงิน ทั้งหมด ล้อมรอบด้วยเมรุทิศทั้ง ๘ ทิศ แบ่งเป็นพระเมรุทิศตํามทิศหลัก ๔ ทิศหรือที่เรียกกันว่ํา “เมรุประตู” หรือ “ประตูพระเมรุ” และเมรุทิศรองอีก ๔ ทิศ เมรุทิศท้ัง ๘ ทิศ มี “สํามสร้ําง” (สํามส้ําง) เป็น ระเบียงคดเช่ือมถึงกันโดยรอบ เมรุทิศทุกองค์ต้ังบนฐํานปัทม์ย่อมุมไม้สิบสอง ลักษณะคล้ํายยอด ปรํางค์ประธํานของพระเมรุและมีเชิงกลอน ๕ ชั้นปักฉัตรติดธงชํายเช่นกันแต่ย่อมกว่ํา ยอดนภศูล ปักฉัตร ๕ ช้ันติดธงชําย ภําพวําดพระเมรุและเมรุทิศน้ี มีลักษณะใกล้เคียงอย่ํางมํากกับเมรุทิศของ วัดไชยวัฒนํารําม และพระเมรุที่ถวํายพระเพลิงพระพุทธสรีระที่หอเขียน วังสวนผักกําด กรุงเทพ มหํานคร จํากช่วงปลํายพุทธศตวรรษท่ี ๒๓
เมรุทิศทั้ง ๘ เมรุและสํามส้ํางในรูปของระเบียงคด ภํายในปักฉัตรทอง นําก เงิน ติด ธงชําย รํายล้อมด้วยรําชวัติทรงเครื่องและฉัตรเบญจรงค์ปักธงชําย
ภําพพระเมรุ รําชวัติทรงเคร่ือง ฉัตรทอง นําก เงิน และสํามส้ํางหรือระเบียงคดซึ่งมีพระสงฆ์น่ังพนมมือ อยขู่ ํา้ งใน มรี ะทํายอดมณฑปตง้ั เรยี งไปตํามแนวสํามสํา้ ง ลํายรดน้ําท่ีหอเขียน วังสวนผักกําด
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๖๐ ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ