Page 269 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 269
ชบุ เลยี้ งแตต่ งั้ ใหเ้ ปน็ ขนุ นางผใู้ หญใ่ หอ้ ยปู่ ระจา ในพระบรมมหาราชวงั ” (คา ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดู่ ทรงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๔๗, ๙๒) และน่ําจะเป็นสําเหตุหน่ึงที่ทําให้มีกํารฝึกฝนนักแสดงจํานวนมํากเพ่ือ ใช้เล่นในงํานมหรสพหลวงโดยเฉพําะในงํานพระเมรุ
กระบวนรูปสัตว์
กระบวนรูปสัตว์ตั้งเรียงเป็นแถวตอนหันหน้ําเข้ําสู่พระเมรุน้ีปัจจุบันนิยมเรียกว่ํา “รูปสัตว์ หิมพํานต์” ขณะท่ีในคาให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เรียกแยกเป็นสัตว์จตุบําท ทวิบําท รปู สตั วท์ งั้ ในภําพลํายเสน้ และภําพสยี นื แทน่ บนฐํานปทั มเ์ ขยี นลํายรบั บษุ บกสงั เคด็ ซงึ่ ตงั้ วํางบนเลอ่ื น ลํากหรือ “ตะเฆ่” มีเจ้ําพนักงํานแต่งกํายเป็นเทวดําคอยฉุดชักและถือเครื่องสูงเดินตําม คล้ํายกับ แบบลํายเส้นรูปสัตว์รับบุษบกสังเค็ดงํานพระเมรุสมเด็จพระรูปฯ ส่วนคาให้การขุนหลวงวัดประดู่ ทรงธรรม กล่ําวว่ําในงํานพระเมรุสมเด็จพระเจ้ําบรมโกศและสมเด็จพระพันวัสสํา “มีรูปสัตว์ ๑๐ อย่างๆ ละคู่เป็น ๒๐ ตัว มีรูปช้างสอง ม้าสอง คชสีห์สอง ราชสีห์สอง สิงโตสอง มังกรสอง ทักขธอสอง นรสิงห์ ๒ เหม ๒ หงส์ ๒ แลรูปภาพทั้งนี้สูง ๔ ศอก” และยังกล่ําวถึงรูปสัตว์เหล่ํานี้ใน งํานพระเมรุว่ําทําหน้ําที่ “รับบุศบกสังเฆศรํายตํามหลัง” กล่ําวคือ “แรต รับบุษบกไฟ มีคันชิงหน้า แรดคู่ ๑ ถดั มารปู สตั วจ์ ตบุ าท ทวบิ าตร รบั บษุ บกสงั เฆศ” และบษุ บกสงั เคด็ นนั้ “สํา หรบั ใสธ่ ปู นํา้ มนั ภุมเสน และเครื่องหอมต่ํางๆ” (คาให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรมฯ ๒๕๕๕: ๔๗, ๙๒) นัยว่ําเป็น เคร่ืองใช้ในกํารถวํายพระเพลิงพระบรมศพ
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒๖๗
เสด็จสู่แดนสรวง
๑3