Page 28 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 28
ของคนสมัยโบรําณนั้นสัมพันธ์กับกํารสร้ํางบนพื้นท่ีศักดิ์สิทธิ์ (sacred place) นอกจํากนี้แล้ว ศําสนําพุทธยังเป็นกรอบแนวคิดสําคัญที่ซ้อนทับลงไปในกํารสร้ํางเจดีย์หรือปรํางค์ข้ึนด้วย เพอ่ื เปน็ กํารทํา ใหพ้ น้ื ทแี่ หง่ นนั้ เปรยี บเสมอื นกบั พน้ื ทที่ พี่ ระพทุ ธเจํา้ ทรงเคยเสดจ็ มํา หรอื อยํา่ งนอ้ ย ก็เป็นพื้นที่ในกํารรําลึกถึงพระพุทธองค์ ดังน้ัน เม่ือมีกํารตํายของบุคคลสําคัญเกิดข้ึน จึงเป็นเหตุให้ มีกํารสร้ํางเจดีย์ข้ึนเพ่ือให้สอดคล้องกับแนวคิดทํางพระพุทธศําสนําที่ต้องกําหนดให้พื้นที่ใด พนื้ ทหี่ นงึ่ เปน็ พน้ื ทศี่ กั ดส์ิ ทิ ธิ์ อําจกลํา่ วไดว้ ํา่ บทควํามนต้ี อ้ งกํารหําสงิ่ ทเี่ รยี กวํา่ แกนกลํางของควํามคดิ หรือสํารัตถะ (essential) ในกํารสร้ํางศําสนสถํานของคนโบรําณ
บทควํามเรอื่ ง กระบวนทศั นท์ แี่ ปรเปลยี่ นในการออกแบบพระเมรใุ นสมยั รตั นโกสนิ ทร์ โดย อาจารย์ ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ แห่งมหําวิทยําลัยศิลปํากร และคณะนักวิจัยประกอบด้วยวรินทร์ รวมสา ราญ, ภทั ร ราหลุ , วษิ ณุ หอมนาน, กลุ พชั ร์ เสนวี งศ์ ณ อยธุ ยา, และ แสงจนั ทร์ ผอู้ ยสู่ ขุ ได้พยํายํามนําเสนอว่ํา พระเมรุไม่ใช่เป็นเพียงสถํานท่ีใช้สําหรับกํารประกอบงํานพระบรมศพและ พระศพเท่ํานั้น หํากยังเป็นกํารแสดงออกถึงพระรําชอํานําจและส่งเสริมควํามเป็นกษัตริย์ในยุคต้น รัตนโกสินทร์ไปพร้อมกัน ด้วยเหตุนี้ ทําให้พระบําทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ําจุฬําโลกมหํารําช ทรงจําเป็นต้องมีกํารจัดพระรําชพิธีพระบรมศพพระชนกนําถ ของพระองค์ อย่ํางไรก็ตําม เมื่อเข้ําสู่ สมยั รชั กําลที่ ๔ สถําปตั ยกรรมพระเมรมุ ําศไดม้ กี ํารเปลยี่ นแปลงอยํา่ งพลกิ ฝํา่ มอื กลํา่ วคอื ตวั อยํา่ งเชน่ พระเมรุบํางหลังเช่นของพระเจ้ําลูกเธอ เจ้ําฟ้ําจันทรมณฑลโสภณภัควดี ที่สร้ํางปรําสําทอยู่บน ภูเขําจําลองแทนเขําพระสุเมรุที่ดูสมจริง นอกจํากนี้แล้ว รูปแบบของสถําปัตยกรรมพระเมรุยังเกิด ควํามเปลยี่ นแปลงอยํา่ งใหญห่ ลวงอกี ประกํารหนงึ่ ในสมยั รชั กําลที่ ๕ คอื ออกแบบพระเมรทุ รงบษุ บก หรือมณฑปข้ึน ซ่ึงต่อมําเมื่อพระบําทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ําสวรรคต เหล่ําเสนําบดีจึงได้ตัดสินใจ สร้ํางพระเมรุของรัชกําลที่ ๕ เป็นทรงบุษบก ซึ่งได้กลํายเป็นต้นแบบให้กับพระเมรุมําศสมัยหลัง ดงั เชน่ พระเมรขุ องพระบําทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหําภมู พิ ลอดลุ ยเดช ดว้ ยเหตนุ เี้ อง จงึ ทํา ใหพ้ ระเมรุ ทรงบุษบกได้กลํายเป็นพระเมรุเฉพําะของพระเจ้ําแผ่นดินแทนท่ีพระเมรุทรงปรําสําทยอดปรํางค์
บทควํามเรื่อง ราชรถในงานพระบรมศพสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นบทควํามที่ต่อเนื่อง จํากเร่ืองรําวกระบวนพระบรมศพกษัตริย์สมัยอยุธยําที่อัญเชิญด้วยรําชรถ บทควํามนี้เขียนโดย นาย ยทุ ธนาวรากร แสงอรา่ ม ภณั ฑํารกั ษป์ ระจํา กรมศลิ ปํากร โดยเปน็ บทควํามทอี่ ธบิ ํายรปู แบบ ทํางศิลปะของพระมหําพิชัยรําชรถ เวชยันตรําชรถ และรําชรถองค์อื่นๆ ซึ่งต่ํางแฝงไปด้วย ประวัติศําสตร์กํารสร้ํางและคติควํามเชื่ออย่ํางละเอียดลออ เพรําะไม่เพียงรําชรถจะเป็นสัญลักษณ์ ของกษัตริย์ท่ีเปรียบเสมือนกับพระอินทร์หรือท้ําวสักกเทวรําชเท่ํานั้น หํากแต่ยังสัมพันธ์กับ คติควํามเชื่อในพระพุทธศําสนําด้วยโดยเฉพําะพระมหําพิชัยรําชรถที่มีชื่อปรํากฏในคัมภีร์ ทํางพระพุทธศําสนําที่ต้องกํารสื่อควํามหมํายถึงกํารชนะสงครํามอันยิ่งใหญ่คือกิเลส ดังนั้น คงไมผ่ ดิ นกั ทจี่ ะกลํา่ วไดว้ ํา่ กํารอญั เชญิ พระบรมศพบนพระมหําพชิ ยั รําชรถกค็ อื อญั เชญิ พระผปู้ รําบมําร คือพระพุทธเจ้ํา
ทั้งรําชสํานักและผู้คนในอุษําคเนย์ต่ํางมีกํารรับและแลกเปล่ียนวัฒนธรรมกันมําต้ังแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน งํานพระบรมศพและพระเมรุไม่ได้จัดขึ้นเฉพําะในประเทศไทยเท่ํานั้น หํากแต่ยัง
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๖ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ