Page 27 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 27
และสว่ นตํา่ งจํากคตคิ วํามเชอ่ื ในอนิ เดยี อยํา่ งไรบํา้ ง ดงั จะเหน็ ไดช้ ดั วํา่ พระเมรมุ ําศและงํานพระบรมศพ คอื ภําพสะทอ้ นของกํารผสมผสํานควํามเชอื่ ระหวํา่ งคตพิ ทุ ธกบั ฮนิ ดเู ขํา้ ดว้ ยกนั ซงึ่ ผํา่ นกํารตคี วํามของ ผู้คนในอุษําคเนย์
อําจกลํา่ วไดว้ ํา่ รปู แบบของพระเมรมุ ําศและปรํางคไ์ ทยนน้ั ไดร้ บั ทงั้ อทิ ธพิ ลในแงข่ องคตแิ ละ รูปแบบทํางสถําปัตยกรรมจํากรัฐโบรําณท่ีเคยยิ่งใหญ่มําก่อนคือ อําณําจักรเขมร (กัมพูชํา) ดังนั้น ในบทควํามเร่ือง สืบย้อนความสัมพันธ์ของปราสาทเขมร พระปรางค์ไทย และพระเมรุยอดปรางค์ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง แห่งมหําวิทยําลัยศิลปํากร บทควํามได้ชี้ ใหเ้ หน็ วํา่ นับตั้งแต่พระเมรุมําศสมัยพระบําทสมเด็จพระจอมเกล้ําเจ้ําอยู่หัว รัชกําลที่ ๔ ขึ้นไปน้ัน ถอื เปน็ มรดกตกทอดไปไกลถงึ วฒั นธรรมเขมรโบรําณ ดงั เหน็ ไดจ้ ํากกํารสรํา้ งปรําสําทนครวดั ทสี่ รํา้ ง เพอื่ อทุ ศิ ใหก้ บั พระเจํา้ สรู ยวรมนั ท่ี ๒ (สรุ ยิ วรมนั ที่ ๒) เมอื่ เกอื บพนั ปที แี่ ลว้ เพยี งแตป่ รบั จํากคตฮิ ินดู ให้กลํายมําเป็นพุทธเท่ํานั้น
เมื่อไม่นํานมํานี้ได้มีกํารค้นพบภําพวําดพระเมรุและกระบวนแห่พระบรมศพของสมเด็จ พระเทพรําชํา โดย Barend J. Terwiel ผู้เชี่ยวชําญประวัติศําสตร์ไทย นับเป็นครั้งแรก ที่ทําให้เห็น รปู แบบของพระเมรแุ ละกระบวนแหพ่ ระบรมศพสมยั อยธุ ยํา มํากกวํา่ จะจนิ ตนํากํารจํากคํา พรรณนํา ในเอกสํารเก่ําเพียงอย่ํางเดียว อย่ํางไรก็ดี ภําพวําดนี้ยังไม่ได้รับกํารวิเครําะห์มํากนัก ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ พิชญา สุ่มจินดา แห่งมหําวิทยําลัยเชียงใหม่ จึงได้เขียนบทควํามเรื่อง ข้อวินิจฉัย เกี่ยวกับภาพงานพระเมรุสมเด็จพระเพทราชาท่ีค้นพบใหม่ เพ่ือเป็นกํารวิเครําะห์ภําพวําดน้ี อย่ํางละเอียด ทําให้เข้ําใจรูปแบบและองค์ประกอบแห่งงํานพระเมรุพระบรมศพของกษัตริย์ สมัยอยุธยําได้เป็นอย่ํางดี ซ่ึงช่วยให้สํามํารถนําไปเปรียบเทียบเพื่อเข้ําใจควํามเปลี่ยนแปลงของ รูปแบบพระเมรุและกระบวนแห่พระบรมศพสมัยรัตนโกสินทร์ได้ บทควํามได้อธิบํายชัดว่ํา พระเมรุ สมัยต้นรัตนโกสินทร์สืบมีควํามใกล้เคียงอย่ํางมํากกับสมัยสมเด็จพระเพทรําชํา พระเมรุทอง สื่อควํามหมํายถึงวิมํานไพชยนต์บนเขําพระสุเมรุ สิ่งปลูกสร้ํางต่ํางๆ ท้ังโรงสังเค็ด โรงรํา ระทํา และ พมุ่ ดอกไมเ้ พลงิ ทตี่ ง้ั ตํามรํายทํางกระบวนเชญิ พระบรมศพมคี วํามหมํายเชงิ สญั ลกั ษณต์ ํามคตจิ กั รวําล และกํารบําเพ็ญบํารมีในพุทธศําสนําของกษัตริย์ท้ังในฐํานะที่ทรงเป็นสมมติเทพและกํารสั่งสม พระบํารมี เพื่อรอกํารตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้ําในอนําคต
หลํายท่ํานคงเคยได้ยินว่ํา วัดไชยวัฒนํารํามสมัยกรุงศรีอยุธยําเป็นวัดที่สร้ํางข้ึนบนนิวําส สถํานเดิมของพระรําชมํารดําที่เสียชีวิตไปก่อนที่สมเด็จพระเจ้ําปรําสําททองจะขึ้นครองรําชย์ แต่ คําถํามที่ไปไกลกว่ํานั้นก็คือแนวคิดในกํารสร้ํางวัดบนพื้นท่ีถวํายพระเพลิงพระบรมศพโดยเฉพําะ ในสมยั อยธุ ยํานนั้ มมี ําตงั้ แตเ่ มอื่ ใด ในบทควํามเรอื่ ง ธรรมเนยี มสรา้ งวดั บนทถี่ วายพระเพลงิ พระบรมศพ ในสมัยอยุธยา เร่ืองจริงหรือเร่ืองแต่ง? โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภัสสร์ ชูวิเชียร แห่ง มหําวิทยําลัยศิลปํากร ได้แสดงให้เห็นว่ําแนวคิดเรื่องกํารสร้ํางศําสนสถํานเหนือพ้ืนที่ปลงศพ มีมําแล้วในวัฒนธรรมเขมรตัวอย่ํางเช่นที่ปรําสําทพนมวัน หรือในวัฒนธรรมสุโขทัยเช่นท่ีวัดชมช่ืน เป็นต้น ซ่ึงทั้งสองแห่งพบกํารสร้ํางศําสนสถํานเหนือพ้ืนที่ฝังศพที่มีมําแล้วตั้งแต่สมัยก่อน ประวตั ศิ ําสตรต์ อนปลํายหรอื ตน้ ประวตั ศิ ําสตร์ หมํายควํามวํา่ หลกั คดิ ในกํารสรํา้ งศําสนสถํานบํางแหง่
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ ๒5
เสด็จสู่แดนสรวง