Page 26 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 26

ที่อยู่ภํายใต้พระบรมโพธิสมภํารหรือบ้ํางก็รับรู้ผ่ํานวรรณกรรมต่ํางชําติ บทควํามเรื่อง พื้นที่ของ พระ ผี ฤๅษี และบาทหลวง ในพิธีกรรมความตายในสังคมไทยจากฉากงานพระศพ โดย ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล แห่งมหําวิทยําลัยมหิดล อําจกล่ําวได้ว่ําสังคมไทย ทั้งสมัยรัตนโกสินทร์หรืออยุธยําต่ํางเป็นสังคมนํานําชําติหลํากวัฒนธรรม (อําจเรียกได้ว่ําเป็น cosmopolitan) ดังนั้น เป้ําหมํายของบทควํามนี้อย่ํางหนึ่งก็คือ ควํามพยํายํามในกํารอธิบําย ให้เห็นว่ํานอกจํากงํานพระศพอย่ํางไทยแล้ว ในสังคมไทยยังมีงํานศพแบบอ่ืนๆ ซ่ึงชนช้ันนําสยําม ได้ทํากํารบันทึกไว้ในรูปของวรรณคดี ดังน้ัน แน่นอนในเม่ือภําษําในกํารบันทึกต้องทําให้สวยและ กระชับสมเป็นวรรณคดีแต่ก็พบได้ว่ําพิธีกรรมศพของบํางศําสนํามีรํายละเอียดบํางประกําร ที่ผิดปกติไปจํากองค์ควํามรู้ในปัจจุบันท่ีมี เพรําะกํารรับรู้ของผู้แต่งวรรณคดีนั่นเอง อย่ํางไรก็ตําม กํารคน้ พบควํามผดิ ปกตเิ ลก็ ๆ นอ้ ยๆ นเ้ี อง ท่ีทําให้ต้องหัดสังเกตให้มํากข้ึนเวลําที่อ่ํานวรรณคดี
ด้วยเชื้อสํายของรําชวงศ์จักรีท่ีมีเช้ือสํายของชําวจีนผสมผสําน ทําให้ในงํานพระรําชพิธี พระบรมศพนับแต่รัชสมัยพระบําทสมเด็จพระน่ังเกล้ําเจ้ําอยู่หัว รัชกําลที่ ๓ มีธรรมเนียมกํารถวําย กงเตก๊ ขนึ้ แตค่ วํามเขํา้ ใจนก้ี เ็ ปน็ เพยี งขอ้ มลู พนื้ ฐํานทคี่ นทว่ั ไปรบั รกู้ นั ทวํา่ บทควํามเรอื่ ง พธิ กี งเตก๊ ในราชสา นกั ไทย โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ สทิ ธ์ิ อมรวณชิ ศกั ด์ิ แหง่ มหําวทิ ยําลยั ธรรมศําสตร์ ไมเ่ พยี งอธบิ ํายใหถ้ งึ แนวคดิ ของชําวจนี ในกํารทํา กงเตก๊ เทํา่ นน้ั หํากแตย่ งั ชว่ ยทํา ใหเ้ หน็ วํา่ พระสงฆ์ ที่เป็นผู้ประกอบพิธีกรรมในงํานพระบรมศพนั้นไม่ใช่มีเพียงพระจีนเท่ําน้ันหํากแต่ยังมีพระญวณ (เวียดนําม) ท่ีมีบทบําทสําคัญในพิธีกรรมดังกล่ําวอีกด้วย ซ่ึงกํารเข้ํามํามีอิทธิพลของพระญวน ในรําชสํานักนี้มีควํามสัมพันธ์อย่ํางลึกซ้ึงท้ังในแง่มุมทํางประวัติศําสตร์และควํามสนพระทัย ส่วนพระองค์ระหว่ํางรัชกําลที่ ๔ กับผู้นําพระสงฆ์ฝ่ํายอนัมนิกํายคือองฮึงเจ้ําอําวําสวัดญวน ตลําดน้อย อําจกล่ําวได้ว่ําบทควํามน้ีไม่ใช่บทควํามที่ทําให้เข้ําใจพิธีกรรมกงเต๊ก ทว่ําสิ่งสําคัญด้วย คือกํารมองเห็นประวัติศําสตร์ของชําวจีนและญวน นับตั้งแต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์จนถึงปัจจุบันผ่ําน กงเต๊ก
บทควํามเรื่อง เมรุในศิลปะอินเดีย โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ติงสัญชลี แห่ง มหําวิทยําลัยศิลปํากร ได้อธิบํายอย่ํางชัดเจนว่ํา ถึงแม้ว่ําโดยรูปแบบและคติของพระเมรุมําศ ของไทยจะรับมําจํากอินเดียก็ตําม แต่งํานศพ-งํานพระบรมศพของอินเดียเองก็ไม่เคยมีธรรมเนียม กํารสร้ํางพระเมรุมําศเพ่ือใช้ในกํารเผําศพ โดยมีเพียงกํารเผําศพอย่ํางเรียบง่ํายที่ฆําฏหรือท่ําน้ํา เผําศพริมแม่น้ําคงคําเท่ํานั้น ดังนั้น พระเมรุมําศจึงเป็นคติควํามเชื่อท่ีผู้คนในอุษําคเนย์รับแล้ว มําปรับปรุงให้กลํายเป็นแบบแผนพิธีกรรมในเรื่องควํามตําย (mortuary practice) ของตัวเอง พูดอีกแบบคือเป็นกํารผสมควํามเชื่อระหว่ํางอินเดียกับท้องถิ่น (India + Local)
ในบทควํามเรอ่ื งสเุมรบุ รรพตในจกั รวาลวทิ ยาอนิ เดยี และสยามโดยผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชานปว์ ชิ ช์ ทดั แกว้ แหง่ จฬุ ําลงกรณม์ หําวทิ ยําลยั ถอื ไดว้ ํา่ เปน็ สว่ นขยํายตอ่ กํารทํา ควํามเขํา้ ใจ คติควํามเชื่อเร่ืองเขําพระเมรุในอินเดียอย่ํางละเอียดท้ังในศําสนําพุทธและฮินดู เมื่อศําสนําพุทธ รบั คตคิ วํามเชอื่ เรอื่ งเขําพระเมรมุ ําจํากฮนิ ดแู ลว้ มกี ํารปรบั ใชอ้ ยํา่ งไร ซงึ่ ทํา ใหเ้ กดิ ภําพทชี่ ดั เจนขน้ึ วํา่ ในกํารสรํา้ งพระเมรมุ ําศของไทย (กระทงั่ ในงํานศลิ ปกรรมอนั เนอื่ งในศําสนําของไทย) มสี ว่ นเหมอื น
เสด็จสู่แดนสรวง
๒4 ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   24   25   26   27   28