Page 24 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 24
ภํายในพระที่น่ังดุสิตมหําปรําสําท ซึ่งเป็นท่ีประดิษฐํานพระบรมโกศของรัชกําลที่ ๙ นั้น จะเห็นได้ว่ําเต็มไปด้วยเครื่องประกอบพระรําชพิธีพระบรมศพจํานวนมําก ซึ่งยํากนักที่สํามัญชน โดยทวั่ ไปจะทรําบไดว้ ํา่ ชน้ิ ไหนเปน็ อะไรบํา้ ง มหี นํา้ ทกี่ ํารใชง้ ํานอยํา่ งไร และมคี ตคิ วํามเชอื่ ใดแฝงอยู่ ในบทควํามเรอื่ งศลิ ปะและคตคิ วามเชอื่ ในเครอื่ งประกอบพระราชพธิ พี ระบรมศพโดยอาจารย์ธนกฤต ลออสวุ รรณ แหง่ มหําวทิ ยําลยั รํามคํา แหง เปน็ บทควํามทอี่ ธบิ ํายเครอื่ งประกอบพระรําชพธิ แี ทบจะ ทั้งหมดอย่ํางละเอียดลออ ซึ่งด้ํานหนึ่งทําให้เห็นถึงระเบียบแบบแผนของรําชสํานักที่สะท้อนรําก ทํางวฒั นธรรมทม่ี มี ําอยํา่ งยําวนําน แตอ่ กี ดํา้ นหนงึ่ ทส่ี ํา คญั ดว้ ยกค็ อื กํารประดบั ตกแตง่ และกํารถวําย เคร่ืองประกอบพระรําชพิธีพระบรมศพของรัชกําลท่ี ๙ นี้ มีควํามพิเศษกว่ําครั้งใดๆ ซึ่งสํามํารถ สังเกตได้จํากจํานวนและศักดิ์ของเครื่องประกอบพระรําชพิธี ท้ังนี้เป็นเพรําะ “พระบําทสมเด็จ พระเจ้ําอยู่หัวในพระบรมโกศ” พระองค์ทรงเป็นพระมหํากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่และประกอบพระรําช กรณยี กจิ เพอ่ื ปวงชนชําวไทยและประเทศอย่ํางที่ยํากจะหําพระมหํากษัตริย์พระองค์ใดมําเทียบได้ น่ันเอง นอกจํากนี้แล้ว สิ่งหน่ึงที่เม่ืออ่ํานบทควํามนี้อยํากจะชวนให้สังเกตด้วยว่ํา ประกํารแรก แบบแผนของกํารจัดวํางตั้งแต่งเครื่องประกอบพระรําชพิธีในครั้งน้ีมีควํามคล้ํายคลึงกับในสมัย พระบําทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ําเจ้ําอยู่หัว รัชกําลที่ ๖ ทั้งนี้คงเป็นเพรําะในสมัยดังกล่ําวนี้เป็นช่วง เวลําท่ีระเบียบแบบแผนที่ผสมผสํานกันระหว่ํางสยํามเก่ํากับสยํามใหม่ที่ปรํากฏในงํานพระบรมศพ เริ่มเกิดควํามลงตัวแล้ว ประกํารที่สอง มีควํามพยํายํามหลํายอย่ํางในกํารที่จะตั้งแต่งจัดวํางเคร่ือง ประกอบพระรําชพิธีพระบรมศพรัชกําลที่ ๙ ให้มีควํามคล้ํายคลึงกับรัชกําลที่ ๕ ทั้งนี้เพรําะถือว่ํา ทงั้ สองพระองคเ์ ปน็ พระมหํากษตั รยิ ผ์ ยู้ งิ่ ใหญด่ ว้ ยกนั ทง้ั คู่ ประกํารทสี่ ําม เครอ่ื งประกอบพระรําชพธิ ี ท่ีถวํายพระบรมศพนี้ ถ้ําเปรียบเทียบกับธรรมเนียมของสํามัญชนแล้วก็คือเครื่องเซ่นศพเพื่อให้ ผู้ตํายนําไปใช้ในโลกหน้ํา แต่ในขณะเดียวกันก็กลับสร้ํางควํามรู้สึกให้ว่ําผู้ตํายน้ันยังมีชีวิตอยู่เพียง แต่เป็นอีกโลกหน่ึงเท่ําน้ัน อําจกล่ําวได้ว่ํา กํารอ่ํานสิ่งสําคัญที่ดูเหมือนจะเป็นส่ิงละอันพันละน้อยนี้ แท้จริงแล้วก็คือกํารอ่ํานเพื่อเข้ําใจระบบคิดในกํารจัดระเบียบสิ่งของเพ่ือเชื่อมโยงกับมิติทําง ประวัติศําสตร์
สิ่งท่ีขําดไม่ได้ในงํานศพไม่ว่ําจะเป็นสํามัญชนหรือเจ้ําก็คือ ดนตรี ถือเป็นควํามงําม ควํามไพเรําะภํายใต้ควํามโศกเศร้ํา บทควํามเรื่อง ดนตรีในพระราชพิธีพระบรมศพ โดย อาจารย์ ดร.สายป่าน ปุริวรรณชนะ แห่งสถําบันเทคโนโลยีปทุมวัน ได้ชี้เห็นถึงหน้ําที่ของดนตรีที่ไม่ได้มี เพียงกํารสร้ํางบรรยํากําศในงํานศพหรือทําให้งํานศพไม่เงียบงัน แต่หํากดนตรียังมีหน้ําท่ีอีก หลํายประกําร ซึ่งอําจแบ่งออกได้เป็น ๒ แบบหลักคือ แบบแรกคือ หน้ําที่ของดนตรีตํามคติ แบบจํารีต ซึ่งมีหน้ําท่ีในกํารเรียกขวัญให้กลับคืนสู่ร่ําง และเสียงดนตรีเป็นเสมือนกับสะพําน เชื่อมต่อระหว่ํางโลกนี้กับโลกหน้ํา เป็นต้น แบบที่สองคือ หน้ําท่ีของดนตรีตํามคติแบบสมัยใหม่ ซงึ่ เปน็ กํารแสดงควํามอําลยั ควํามโศกเศรํา้ และกํารยอพระเกยี รติ ซงึ่ สะทอ้ นถงึ ควํามผกู พนั ระหวํา่ ง ประชําชนกับพระองค์ท่ํานได้เป็นอย่ํางดี
จะเหน็ ไดว้ ํา่ ในชว่ งทรี่ ชั กําลที่ ๙ เสดจ็ สวรรคตไมน่ ํานนกั ไดเ้ กดิ ขอ้ ถกเถยี งมํากมํายเกย่ี วกบั เคร่ืองแต่งกํายที่ใช้ในกํารไว้ทุกข์ ซึ่งสําเหตุของกํารถกเถียงดังกล่ําวเกิดข้ึนส่วนหนึ่งเป็นผลมําจําก
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๒ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ