Page 22 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 22
จํากท่ีกล่ําวมําท้ังหมด จะเห็นได้ว่ําในงํานพระบรมศพและพระเมรุนั้นเต็มไปด้วยควํามรู้ มํากมํายทสี่ ะทอ้ นทงั้ รํากทํางวฒั นธรรมดงั้ เดมิ ของคนในภมู ภิ ําคนี้ และอทิ ธพิ ลของศําสนําพทุ ธและ พรําหมณ์ ซงึ่ ไดผ้ สมผสํานกนั และหลํายสงิ่ หลํายอยํา่ งยงั คงสบื เนอ่ื งมําจนถงึ ทกุ วนั น้ี โดยรํายละเอยี ด ของประเด็นต่ํางๆ จะถูกนําเสนอผ่ํานกํารวิเครําะห์ในบทควําม ๑๙ เรื่องในหนังสือเล่มนี้
๑๙ ทัศนะต่องานพระบรมศพและพระเมรุ
บทควําม ๑๙ เรื่องในหนังสือเล่มน้ีเขียนขึ้นโดยนักวิชํากํารรุ่นใหม่ผู้เช่ียวชําญสําขํา ประวัติศําสตร์ โบรําณคดี ประวัติศําสตร์ศิลปะ ภําษําไทย และวรรณคดี ทําให้มุมมองและวิธีวิทยํา ในกํารศึกษําเรื่องงํานพระบรมศพและพระเมรุนั้นมีควํามแตกต่ํางกัน อย่ํางไรก็ดี ในภําพรวมแล้ว เนอื้ หําทง้ั หมดมคี วํามสอดคลอ้ งกนั และนํา เสนอประเดน็ หลํายอยํา่ งทนี่ ํา่ สนใจ ซงึ่ ไมส่ ํามํารถหําอํา่ น ได้ง่ํายนักจํากหนังสือท่ัวไป อําจมีบํางท่ํานคิดว่ําบทควํามบํางเรื่องในหนังสือเล่มนี้มีเนื้อหําที่หนัก เกินไป ไม่เหมําะสําหรับกํารศึกษําในระดับโรงเรียนเพรําะพิมพ์ภํายใต้งบประมําณของสํานักงําน คณะกรรมกํารกํารศึกษําข้ันพื้นฐําน กระทรวงศึกษําธิกําร ทว่ํากํารท่ีจะพัฒนําคุณภําพกํารศึกษํา ของไทยให้ก้ําวหน้ําในอนําคตได้นั้น สิ่งสําคัญอย่ํางยิ่งยวดที่ต้องเร่งทําคือกํารพัฒนําองค์ควํามรู้ ทํางวิชํากําร ซ่ึงน่ีคือเป้ําหมํายส่วนหน่ึงของกํารจัดทําหนังสือเล่มนี้ขึ้นมํา อน่ึง ต้องกล่ําวก่อนว่ํา ปัญหําอย่ํางหนึ่งของกํารเขียนอธิบํายเกี่ยวกับพระรําชพิธีพระบรมศพและพระเมรุในหนังสือเล่มนี้ คือกํารใช้คํารําชําศัพท์ เพรําะมีควํามต่ํางกันในเร่ืองลําดับฐํานันดรและอิสริยยศของผู้วํายชนม์ รวมถึงควํามต่ํางของวิธีกํารจัดลําดับศักดิ์ระหว่ํางกษัตริย์ต่ํางประเทศ ดังนั้น รําชําศัพท์ต่ํางๆ ได้ พยํายํามใช้และจัดวํางอย่ํางเหมําะสมและระมัดระวังตํามสมควร
เนอ้ื หําของบทตํา่ งๆ ลํา ดบั จํากเวลําทํางประวตั ศิ ําสตรแ์ ละขนั้ ตอนพธิ พี ระบรมศพ กลํา่ วคอื บทควํามเริ่มต้นด้วยกํารเล่ําเรื่องคติควํามเชื่อเก่ียวกับควํามตํายจํากสมัยบรรพกําลมําจนถึง งํานพระบรมศพและพระเมรุในสมัยอยุธยํา และรัตนโกสินทร์จนถึงปัจจุบัน โดยประเด็นร่วมกัน ของทุกบทควํามคือควํามพยํายํามในกํารอธิบํายถึงคติควํามเชื่อเกี่ยวกับควํามตํายดั้งเดิมของคน ในภมู ภิ ําคนที้ ผี่ สมผสํานเขํา้ กบั ควํามเชอ่ื จํากอนิ เดยี และตอ่ มําไดผ้ สมผสํานเขํา้ กบั ควํามเชอื่ ทง้ั จําก จีนและตะวันตก ซ่ึงในท้ํายที่สุดได้ตกทอดมําเป็นพระรําชพิธีพระบรมศพและพระเมรุดังที่เห็น ในทุกวันนี้ ต่อไปนี้จะขอสรุปเนื้อหําหลักของบทควํามโดยย่อและประเด็นสําคัญบํางเร่ืองที่ข้ําพเจ้ํา เห็นจํากกํารอ่ํานบทควําม ดังนี้
บทควํามแรกในหนังสือเล่มนี้คือ คนตาย เพราะขวัญหายต้องทาพิธีเรียกขวัญนาน หลายวัน: งานศพปัจจุบัน สืบทอดพิธีกรรมหลายพันปีมาแล้ว โดย นาย สุจิตต์ วงษ์เทศ นับได้ว่ํา เป็นบทควํามที่ท้ําทํายต่อกรอบคิดกระบวนกํารภํารตภิวัฒน์ (Indianization) คือกํารทําให้เป็น อนิ เดยี อยํา่ งยง่ิ ทเี่ สนอโดยนกั วชิ ํากํารฝรงั่ เศสคอื ยอรจ์ เซเดส์ เพรําะควํามพยํายํามในกํารชใี้ หเ้ หน็ วํา่ รํากฐํานทํางควํามเชอื่ และวฒั นธรรมควํามตํายของไทยหรอื อําจมองแบบรวมๆ วํา่ คอื “อษุ ําคเนย”์ นนั้ มีมําก่อนจะรับวัฒนธรรมจํากอินเดียอย่ํางน้อยก็ ๒,๕๐๐ ปีมําแล้ว และยังมีพลังดํารงอยู่จนกระทั่ง ในปัจจุบัน ซึ่งสํามํารถสังเกตได้ผ่ํานพิธีกรรมควํามตํายไม่ว่ําจะเป็นงํานศพเจ้ําหรือสํามัญชนก็ตําม สําเหตทุ งี่ ํานศพหรอื พระบรมศพในไทยตอ้ งทํา นํานกวํา่ ในโลกตะวนั ตกกเ็ พรําะมคี วํามเชอ่ื วํา่ “ขวญั ” นน้ั
เสด็จสู่แดนสรวง
๒๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ