Page 362 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 362

รําชอําณําจักรกัมพูชําเป็นดินแดนท่ีได้รับกํารถ่ํายทอดมรดกทํางอํารยธรรมจํากอินเดีย โบรําณตั้งแต่แรกเริ่มเข้ําสู่สมัยประวัติศําสตร์ในรําวพุทธศตวรรษที่ ๖ พระรําชพิธีถวํายพระเพลิง พระบรมศพของพระมหํากษตั รยิ ์พระอคั รมเหสีตลอดจนพระศพของพระบรมวงศํานวุ งศอ์ นั สบื เนอื่ ง มําแต่ครั้งโบรําณกําลก็มีแบบแผนที่ได้รับอิทธิพลทํางศําสนําซึ่งได้รับถ่ํายทอดมําจํากอํารยธรรม อินเดียโบรําณ ผสมผสํานกับธรรมเนียมปฏิบัติในท้องถิ่นทําให้เกิดลักษณะเฉพําะตัวสืบเน่ืองมํา จนถึงปัจจุบัน (  ប  ន់ម៉ រ ៉, ជី រដ ្ និងគង់ វិរៈ ២០១៣: ១)
ช่วงปลํายพุทธศตวรรษที่ ๘ จดหมํายเหตุของรําชทูตจีนที่เดินทํางมํายังดินแดนกัมพูชํา สมัยก่อนเมืองพระนครได้บันทึกไว้ว่ํา พระบรมศพของพระมหํากษัตริย์จะได้รับกํารถวํายพระเพลิง หลงั จํากเสดจ็ สวรรคต จํากนนั้ จะเชญิ พระบรมอฐั บิ รรจลุ งในพระโกศทองแลว้ จงึ นํา ไปถว่ งนํา้ ในแมน่ ํา้ ( ្ ង   ២០០៣: ៥៧) สําหรับกํารใช้โกศบรรจุอัฐินั้นก็จะมีกํารแบ่งตํามลําดับชนชั้นด้วยเช่นกัน โดยหํากเป็นอัฐิของขุนนํางหรือข้ํารําชกํารก็จะใช้โกศที่ทําด้วยเงิน และถ้ําเป็นอัฐิของสํามัญชนก็จะ ถูกบรรจุลงในโกศท่ีทําจํากดิน
นอกจํากนี้ยังพบข้อมูลที่น่ําสนใจจํากกํารศึกษําศิลําจํารึกสมัยก่อนเมืองพระนครเกี่ยวกับ ธรรมเนียมกํารเฉลิมพระนํามถวํายแด่พระมหํากษัตริย์ภํายหลังจํากเสด็จสวรรคต (Posthumous name) ซึ่งได้รับกํารบัญญัติศัพท์เรียกในภําษําเขมรปัจจุบันว่ํา “ព ះបរមប   មរណ ម” หรือ “พระบรม ปัจฉํามรณนําม” เท่ําที่ทรําบข้อมูลจํากจํารึกในสมัยก่อนเมืองพระนครพบกํารใช้พระบรมปัจฉํา มรณนํามสําหรับพระมหํากษัตริย์บํางพระองค์ เช่น พระเจ้ําภววรมันที่ ๒ ทรงมีพระนํามหลัง จํากเสด็จสวรรคตว่ํา “กุรุงฺ ภวปุร” แปลว่ํา เทวสถํานหรือสรวงสวรรค์อันเป็นท่ีประทับของพระองค์ หลังจํากเสด็จสวรรคต อีกตัวอย่ํางหนึ่งที่พบอย่ํางแพร่หลําย คือ พระบรมปัจฉํามรณนํามของ พระเจ้ําชัยวรมันที่ ๑ ซ่ึงในศิลําจํารึกออกพระนํามว่ํา “วฺระ กมฺรตํางฺ อญฺ ต เทํา ศิวปุร” ‘พระกมร ตํางอัญผู้ไป[ยัง]ศิวปุระ’ และในศิลําจํารึกบํางหลักใช้ว่ํา “วฺระ กมฺรตํางฺ อญฺ ต เทํา สฺวรฺคฺค ศิวปุร” คํา วํา่ ‘กมรตํางอญั ’ หรอื ‘กมรเตงอญั ’ แปลตํามรปู ศพั ทเ์ ปน็ ภําษําไทยไดว้ ํา่ ‘เจํา้ ก’ู ดงั นนั้ ‘พระกมร ตํางอัญผู้ไป[ยัง]สวรรค์ศิวปุระ’ จึงส่ือควํามถึง ‘เจ้ํากู’ (พระเจ้ําแผ่นดิน) ผู้เสด็จไปยังสวรรค์อันเป็น เมืองแห่งพระศิวะ(វង់ សុ រ៉  ២០១២: ២)
เม่ือเข้ําสู่สมัยเมืองพระนคร ธรรมเนียมกํารเฉลิมพระบรมปัจฉํามรณนํามแด่พระมหํา กษัตริย์ภํายหลังจํากเสด็จสวรรคตได้ปรํากฏหลักฐํานชัดเจนมํากยิ่งข้ึนจํากข้อควํามในศิลําจํารึก พระบรมปัจฉํามรณนํามของพระมหํากษัตริย์กัมพูชําในสมัยเมืองพระนครมีปรํากฏสืบเน่ืองต่อกัน มําไมน่ อ้ ยกวํา่ ๒๐ พระองค์ โดยพบในขอ้ ควํามในศลิ ําจํารกึ ทจี่ ํารขน้ึ ภํายหลงั จํากทรี่ ชั กําลของกษตั รยิ ์ แตล่ ะพระองคส์ นิ้ สดุ ลง อยํา่ งไรกด็ ี พบวํา่ มกี ษตั รยิ บ์ ํางพระองคท์ ไี่ มป่ รํากฏพระบรมปจั ฉํามรณนําม ในกรณนี ้ี วง สเุ ธยี รํา นกั วชิ ํากํารกมั พชู ํา ไดอ้ ธบิ ํายวํา่ เปน็ เพรําะกษตั รยิ พ์ ระองคน์ นั้ ไดห้ ํายสําบสญู ไปหรืออําจถูกแย่งชิงรําชสมบัติก็เป็นได้ ( ្ ង   ២០០៣: ៣)
พระบรมปจั ฉํามรณนํามของพระมหํากษตั รยิ ก์ มั พชู ําในสมยั พระนครปรํากฏอยมู่ ํากมํายใน ศิลําจํารึก ซึ่งมักจะปรํากฏหลังข้อควํามว่ํา “ta stac dau” (ต สฺตจฺ เทํา) แปลว่ํา “ผู้เสด็จไป[ยัง]”
เสด็จสู่แดนสรวง
3๖๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   360   361   362   363   364