Page 363 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 363

แต่ละพระนํามจึงมิได้แสดงถึงฐํานันดรศักดิ์ของพระมหํากษัตริย์ หํากแต่เป็นกํารสื่อถึงสถํานที่ อันเป็นที่ประทับของพระองค์หลังจํากเสด็จสวรรคตแล้ว โดยพระบรมปัจฉํามรณนํามมีควํามหมําย เก่ียวข้องกับสิ่งศักดิ์สิทธ์ิซึ่งเป็นท่ีเคํารพบูชําสูงสุดของพระมหํากษัตริย์แต่ละพระองค์เมื่อครั้งที่ยัง ทรงดํารงพระชนม์ชีพอยู่ ไม่ว่ําจะเป็นพระศิวะ พระวิษณุ หรือในบํางรัชกําลอําจสื่อถึงพระพุทธเจ้ํา ตํามคติพุทธศําสนํามหํายําน ในท่ีน้ีจะนําเสนอรํายพระนํามหลังสวรรคต (พระบรมปัจฉํามรณนําม) ของพระมหํากษัตริย์ในสมัยเมืองพระนครบํางพระองค์ที่มีชื่อเสียง โดยใช้กํารสะกดคําศัพท์ภําษํา เขมรเทยี บเปน็ รปู คํา ทใี่ ชเ้ ปน็ ปรกตอิ ยใู่ นภําษําไทย ตวั อยํา่ งเชน่ พระเจํา้ ชยั วรมนั ท่ี ๒ = ธลุ พี ระบําท ธุลีเชิงพระกมรเตงอัญผู้เสด็จไปปรเมศวร, พระเจ้ําชัยวรมันที่ ๗ = พระกมรเตงอัญผู้เสด็จไปมหํา บรมเสําคตบท, พระเจ้ํายโศวรมันที่ ๑ = พระกมรเตง[กําตวน]อัญผู้เสด็จไปบรมศิวโลก, พระบําท บรมศิวโลก, พระเจ้ําสูรยวรมันที่ ๒ = พระบําทกมรเตงอัญบรมวิษณุโลก, และพระเจ้ําอีศํานวรมัน ที่ ๒ = พระบําทศรีศํานวรรมเทวะผู้เสด็จไปบรมรุทรโลก, พระกมรเตงอัญผู้เสด็จไปบรมรุทรโลก เป็นต้น
จํากหลกั ฐํานศลิ ําจํารกึ ทชี่ ําวกมั พชู ําโบรําณบนั ทกึ ไวไ้ มป่ รํากฏรํายละเอยี ดของกํารจดั กําร พระรําชพิธีถวํายพระเพลิงพระบรมศพพระมหํากษัตริย์ในสมัยพระนครอย่ํางแน่ชัดเจน แต่ นักประวัติศําสตร์พอจะทรําบเรื่องรําวดังกล่ําวได้จํากจดหมํายเหตุของ “โจวต้ํากวําน” รําชทูตจีน ที่เดินทํางเข้ํามําในรําชอําณําจักรกัมพูชําในสมัยเมืองพระนคร เมื่อ พ.ศ.๑๘๓๙ โดยมีกํารกล่ําวไว้ อยํา่ งยอ่ ๆ วํา่ พระบรมศพพระมหํากษตั รยิ ไ์ ดร้ บั กํารประดษิ ฐํานไวใ้ นปรําสําท(លី  មត ង ១៩៧៣: ៤៥)
ในช่วงหลังสมัยเมืองพระนคร หลักฐํานที่กล่ําวถึงเร่ืองรําวบํางตอนของกํารพระรําชพิธี ถวํายพระเพลิงพระบรมศพพระมหํากษัตริย์และพระบรมวงศํานุวงศ์ในรําชสํานักกัมพูชําปรํากฏอยู่ ในพงศําวดํารท่ีมีช่ือว่ํา “เอกสารมหาบุรุษเขมร” (ឯក រម បុរុរសខ ្ រ  រ) ซึ่งเรียบเรียงโดย “เอง สุต” (អេង សុ្) นักประวัติศําสตร์ชําวกัมพูชํา โดยมีกํารกล่ําวถึงกํารตั้งประดิษฐํานพระบรมศพใน พระโกศและมกี ํารสรํา้ งพระเมรสุ ํา หรบั จดั กํารพระรําชพธิ ถี วํายพระเพลงิ พระบรมศพพระมหํากษตั รยิ ์ และพระบรมวงศํานวุ งศใ์ นแตล่ ะรชั สมยั แตก่ ม็ ไิ ดใ้ หร้ ํายละเอยี ดของกํารจดั กํารพระรําชพธิ แี ตอ่ ยํา่ งใด ตัวอย่ํางที่ชัดเจนซ่ึงปรํากฏใน “เอกสารมหาบุรุษเขมร” จํากกํารบันทึกเหตุกํารณ์ในช่วงรัชกําล “พระบําทศรสี คุ นธบท” (พทุ ธศตวรรษที่ ๒๑) ไดใ้ หข้ อ้ มลู เกยี่ วกบั พระรําชพธิ ถี วํายพระเพลงิ พระบรมศพ ของพระมหํากษัตริย์ไว้ว่ํา “...พระองค์ได้แต่งพระเมรุถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระวรบิดา เสร็จ เสด็จประทับอยู่ ณ จตุมุข เมืองพนมเปญ...” (អ ង សុ្ ២០០៩: ៧៧)
สําหรับในยุคกลํางคือ ช่วงระหว่ํางพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ถึง ๒๔ (สมัยกรุงจตุมุข กรุงละแวก และกรุงอุดงค์) เป็นยุคสมัยท่ีเกิดควํามเปล่ียนแปลงอย่ํางต่อเนื่องในประวัติศําสตร์กัมพูชําส่งผล กระทบตอ่ เสถยี รภําพของสถําบนั พระมหํากษตั รยิ ใ์ นชว่ งเวลําดงั กลํา่ ว ทํา ใหเ้ อกสํารหลกั ฐํานตํา่ งๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระรําชพิธีในรําชสํานักหลงเหลือตกทอดลงมําถึงยุคปัจจุบันน้อยมําก เรื่องรําว พระรําชพิธีถวํายพระเพลิงพระบรมศพของพระมหํากษัตริย์ในช่วงสมัยดังกล่ําวก็มิได้ปรํากฏข้อมูล รํายละเอียดท่ีชัดเจน
๑๘
ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 3๖๑
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   361   362   363   364   365