Page 38 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 38
รูปร่ํางขวัญเป็นเส้นวงๆ วนเวียนซ้อนกันหลํายชั้นตํามต้องกําร โดยช่ํางเขียนเคยเห็น ลกั ษณะทเ่ี ชอ่ื วํา่ นนั่ คอื ขวญั จํากบรเิ วณโคนเสน้ ผมบนกลํางกระหมอ่ มของทกุ คน แลว้ ยงั เหน็ ตํามโคน เส้นขนท่ีเป็นขวัญบนตัวสัตว์ เช่น ควําย, วัว
๒. เรียกขวัญ เพราะขวัญหาย ต้องทาพิธีนานหลายวันหลายคืน
มหรสพสนกุ สนํานเฮฮําในงํานศพของไทยทกุ วนั น้ี มเี หตจุ ํากควํามเชอื่ เรอื่ งขวญั ในศําสนํา ผีหลํายพันปีมําแล้วของคนทุกเผ่ําพันธุ์ในอุษําคเนย์ ว่ํา คนตําย ขวัญไม่ตําย แต่ขวัญหํายออกจําก ร่ําง แล้วหลงทํางกลับไม่ได้ ถ้ําเรียกขวัญกลับคืนร่ํางเหมือนเดิม คนก็ฟ้ืนเป็นปกติ
ดงั นนั้ เมอื่ มคี นตําย เครอื ญําตพิ น่ี อ้ งตอ้ งเชญิ หมอผหี มอขวญั ขบั ลํา คํา คลอ้ งจองทํา พธิ เี รยี ก ขวัญหลํายวันหลํายคืน โดยท้ังชุมชนตีเกรําะเคําะไม้ประโคมฆ้องกลองปี่ร้องรําทําเพลงเต้นฟ้อน สนุกสนํานเฮฮํา ส่งเสียงดังกึกก้องให้ขวัญได้ยิน ขวัญจะได้กลับถูกทํางตํามเสียงนั้น แล้วคืนร่ําง
กํารละเลน่ เรยี กขวญั เหลํา่ นี้ เปน็ ตน้ แบบพธิ ศี พปจั จบุ นั เชน่ (๑) พระสงฆส์ วดอภธิ รรม (๒) ชําวบ้ํานสวดคฤหัสถ์ (๓) มหรสพและดนตรีป่ีพําทย์ต่ํางๆ
การละเล่นเรียกขวัญหลายพันปีมาแล้ว
ยคุ แรกเรมิ่ มกี ํารละเลน่ เรยี กขวญั พบหลกั ฐํานเปน็ ลํายสลกั บนขวํานสํา รดิ ๒ ชนิ้ วฒั นธรรม ดองซอน อํายุรําว ๒,๕๐๐ ปีมําแล้ว ฝังรวมกับสิ่งของอื่นๆ ในหลุมศพท่ีเวียดนําม
ลํายสลักเป็นรูปหมอขวัญกับหมอแคนขับลําทําท่ําฟ้อน กํางแขน ย่อเข่ํา ก้ําวขํา เป็น สัญลักษณ์พิธีเรียกขวัญคนตํายคืนร่ํางที่ฝังอยู่นั้น (Victor Goloubew, L’ Age du Bronze au Tonkin et dans le Nord-Annam ใน BEFEO : Tom XXIX 1929) คล้ํายกับภําชนะเขียนสีรูป ขวัญ วัฒนธรรมบ้ํานเชียง พบในหลุมศพที่บ้ํานเชียง จ.อุดรธํานี
คาเรียกขวัญ, คาสู่ขวัญ ใช้ขับลําในงํานศพ เร่ิมต้นด้วยคําบอกเล่ํากําเนิดโลกและมนุษย์ ต่อด้วยประวัติบ้ํานเมืองต่ํางๆ เป็นควํามเรียงร้อยแก้วสลับคําคล้องจอง พบแทรกในตอนต้น พงศาวดารล้านช้าง และมีใน เล่าความเมือง และ ความโทเมือง [บทควําม “ควํามโทเมือง จําก เมืองหม้วย” ของ เจมส์ อําร์. แชมเบอร์เลน (James R. Chamberlain) พิมพ์ครั้งแรกในวํารสําร รวมบทควํามประวัติศําสตร์ ฉบับ ๘ (ก.พ.๒๕๒๙) อ้ํางไว้ในหนังสือ ประวัติศาสตร์ไทดา : รากเหง้า วัฒนธรรม-สังคมไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ของ ยุกติ มุกดําวิจิตร พิมพ์ครั้งแรก โดย สํานัก ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ.๒๕๕๗]
เรียกขวัญ, สู่ขวัญ ที่หายไปให้คืนร่างกายเดิม ยังมีร่องรอยเค้ํามูลอยู่ในบทเรียกขวัญ ของไทดํา สุมิตร ปิติพัฒน์ (ศาสนาและความเชื่อไทดา พ.ศ.๒๕๔๕ หน้ํา ๘๙) พบว่ําปัจจุบันเรียก บทสวดส่งผี มีโครงสร้ํางสําคัญ ๒ ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ ๑ เรียกผีขวัญกลับ ไม่ว่ําจะอยู่ที่ไหน ในป่ํา บนบก ในน้ํา ขอให้ผีขวัญกลับเรือน และบอกให้ผีขวัญรู้สึกตัว
เสด็จสู่แดนสรวง
3๖ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ