Page 394 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 394
ธรรมเนียมรําชสํานักพม่ํากําหนดให้สร้ํางอําคํารดังกล่ําวด้วยกํารยกเสําไม้ไผ่ ๔ ต้น ผกู โครงหลงั คําซอ้ นกนั สองหรอื สํามชน้ั (เมยี นมา่ มงี กลามขี า่ นดอ ๑๙๖๘: ๑๘๕-๑๘๘) มแี ผงคอสอง ปิดจ่ัว มุงหลังคําด้วยเส่ือไม้ไผ่สําน ประดับช่อฟ้ํา หํางหงษ์ กระจังมุม ทําสีแดงท้ังอําคําร ด้ํานบน ภํายในอําคํารก้ันผ้ําพิดํานขอบระบํายกลีบบัวสองช้ัน ผูกเชือกแดงแขวนไว้กับเสําไม้ไผ่
ในหนังสือเมียนม่ามีงกลามีงข่านดอ (๑๙๖๘: ๑๘๔) ได้ให้รํายละเอียดงํานพระบรมศพของ พระเจ้ําตําลูนมิง ในกรณีเดียวกันน้ีว่ํา “...อาคาร ๓ ชั้น ผ้าพิดานขอบระบายลายกลีบบัวแขวน ใบโพธิ์ทอง ๔๔ ใบ เสาทาสีแดง...”
๘. ราชวัตร และเครื่องประกอบ
ในคัมภีร์โลกะพยุหะ (๒๐๐๑: ๓๖๙) ได้กล่ําวถึงรําชวัตร เครื่องประกอบและเจ้ําพนักงําน ประจํา รําชวตั รวํา่ “อาคารคลมุ พระจติ กาธานนนั้ ใหก้ นั้ ผา้ โดยรอบ ถดั จากนน้ั ใหก้ นั้ ราชวตั รทา ประตู สดี่ า้ น ดา้ นนอกมมุ ราชวตั รทงั้ สดี่ า้ น ใหม้ หี อกทองประจา ไวด้ า้ นละ ๑ เลม่ ประตสู ดี่ า้ น ใหม้ โี ลส่ เ่ี หลย่ี ม ๑ โล่กลม ๑ ประจาข้างละฝั่ง แผงราชวัตรระหว่างประตูให้มี ธนู ๑ โล่สามชาย ๑ ประจาไว้ ท้ังหมด ปิดทองคาเปลว แล้วให้เจ้าพนักงาน ๒๐ นายใส่ชุดทหารถือประจาอยู่”
กํารปฏบิ ตั ดิ งั กลํา่ วคงมนี ยั ของกํารแสดงควํามภกั ดี และถวํายพระเกยี รตยิ ศผํา่ นกํารถวําย ควํามปลอดภัยแด่พระบรมศพเสมือนหน่ึงพระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่
๙. พระบรมโกศ และผู้อัญเชิญพระบรมอัฐิ
คมั ภรี โ์ ลกะพยหุ ะ (๒๐๐๑: ๓๗๐) ไดอ้ ธบิ ํายถงึ โกศพระบรมอฐั ิ (ภําษําพมํา่ ออกเสยี ง อะโยโอ แปลตํามศัพท์คือ “หม้อกระดูก”) ว่ํา “...ทาด้วยไม้กลึงปิดทองคาเปลว ประดิษฐานเหนือพานทอง ซ่ึงหุ้มผ้ากามะหยี่แดง ห้อยใบโพธ์ิทอง ๗ ใบ”
สํา หรบั กํารเกบ็ พระบรมอฐั ขิ องพมํา่ นน้ั มธี รรมเนยี มแตกตํา่ งจํากไทย ตรงทใ่ี หค้ วํามสํา คญั กบั ผอู้ ญั เชญิ พระบรมอฐั มิ ํากเปน็ พเิ ศษ ผอู้ ญั เชญิ พระบรมอฐั จิ ะถกู คดั เลอื กจํากบรรดํา “ตะเปํา้ ก-์ ฮมฺ ”ู คือ “หัวหน้ําผู้คุมทําส” ซ่ึงเป็นเจ้ําพนักงํานชั้นผู้น้อย สังกัดงํานพระรําชสํานักฝ่ํายตะวันตกขึ้นมํา ทําหน้ําที่
เม่ือคัดเลือกผู้เก็บพระบรมอัฐิได้แล้วก็จัดให้มีพิธีต้ังรําชทินนําม ซ่ึงคัมภีร์โลกะพยุหะ (๒๐๐๑: ๓๗๐) กลํา่ ววํา่ “...ตง้ั โรงพธิ ี ณ ฝง่ั เหนอื ของพระมหาปราสาท แลว้ ตงั้ นามวา่ “ตะหวนุ่ และกย์ า” “ตะหวนุ่ และกแ์ ว” หรอื “ตะเหยป่ ญุ ะ” นามใดนามหนงึ่ จากนนั้ กป็ ระกาศยกหมบู่ า้ นใหห้ นงึ่ หมบู่ า้ น โดยไม่ต้องมีหมายเป็นลายลักษณ์อักษร จากน้ันก็ให้ทองคาหนัก ๑ จั๊ต หม้อน้าชา ๑ คนโฑน้า ๑ หมวกทรงแหลม ๑ พร้อมบริวารรับใช้ ๕ คน แล้วให้แต่งชุดเก็บพระบรมอัฐิ...”
สําเหตุที่ต้องยกให้หัวหน้ําทําสเป็นผู้เก็บพระบรมอัฐิ เนื่องจํากระบบช่วงชั้นทํางสังคม ในยุคจํารีตของพม่ําได้กําหนดให้กลุ่มประชํากรมีสถํานะภําพสูงต่ําไปตํามวิชําชีพที่ตนสังกัด ในที่น้ี พวก “สุจําน” คือกลุ่มประชํากรท่ีทํางํานในหน้ําท่ีซึ่งคนส่วนใหญ่ทํากันได้เป็นปกติวิสัย เช่น พวกไพร่ทํานํา ไพร่พํายเรือ ฯลฯ และกลุ่มคนทํางํานท่ีสังคมรังเกียจ เช่น งํานสัปเหร่อ เพชรฆําต ผู้คุมเรือนจํา ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นคนต้องโทษ หรือพวกทําส (สิทธิพร เนตรนิยม ๒๕๔๖: ๒๓-๒๘)
เสด็จสู่แดนสรวง
3๙๒ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ