Page 41 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 41
คนพนื้ เมอื ง เมอื่ นํา ศพไปเผําหรอื ฝงั เสรจ็ แลว้ กลบั มําตอ้ งทํา บญุ เรอื น สวดมนตเ์ ยน็ ๓ วนั รงุ่ ขนึ้ ฉนั เชํา้ ในระหว่ําง ๓ วัน ที่สวดมนต์นั้น มีงันเรือนดีเหมือนกัน”
[ลัทธิธรรมเนียมต่างๆ ภําคที่ ๑๘ ตอนท่ี ๓ ว่ําด้วยประเพณีของชนชําวมณฑลอีสําน โดย
พระโพธิวงศําจํารย์ (ติสโส อ้วน) เรียบเรียง พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.๒๔๖๙]
งานศพมกี ารละเลน่ สนกุ เฮฮา เปน็ ประเพณดี ง้ั เดมิ ของกลมุ่ ชนในภมู ภิ าคอษุ าคเนย์
พระโพธิวงศําจํารย์ (ติสโส อ้วน) อธิบํายวิธีจัดกํารศพผู้ไท (หรือไทดํา, ลําวโซ่ง) จะคัดมํา โดยปรับย่อหน้ําใหม่ให้อ่ํานง่ําย ดังน้ี
“ถ้ําผู้ตํายมีบุตร์เขย ในเวลํากลํางคืนต้องมีกํารกระทบสําก วิธีนี้จะเว้นเสียมิได้ คือมีสําก ๗ คู่ จับกระทบกันแล้ว ลูกเขยทุกคนเต้นไปตํามระหว่ํางสําก ถ้ําเต้นไม่ดีสํากถูกขํา ถ้ําเต้นไม่เปน ต้องจ้ํางคนเต้นแทน ต้องเต้นทุกๆ คืนจนกว่ําจะนําศพออกจํากบ้ําน นอกจํากนี้ก็มีหมอลําหมอแคน เล่นกันสนุกสนํานครึกครื้นเฮฮํา
กํารนํา ศพไปเผําหรอื ฝงั ถํา้ เปนผมู้ ตี ระกลู หรอื มที รพั ยส์ มบตั ิ มกั มพี ระสงฆน์ ํา หนํา้ ศพ และ มีสวดอภิธรรมไปตํามทําง นอกจํากนี้ก็มีหมอลําหมอแคนเล่นกันเฮฮําไปตํามทําง”
[ลทั ธธิ รรมเนยี มตา่ งๆ ภําคที่ ๑๘ ตอนที่ ๑ วํา่ ดว้ ยชนชําตภิ ไู ทย และชําตญิ อ่ โดยพระโพธิ วงศําจํารย์ (ติสฺโส อ้วน) เรียบเรียง พิมพ์คร้ังแรก พ.ศ.๒๔๖๙]
พิธีศพของไทดา สุมิตร ปิติพัฒน์ มีงํานวิจัยอธิบํายงํานศพของไทดําในเวียดนํามว่ํา เมื่อคนมีชีวิตตํามปกติ ขวัญจะอยู่ในร่ํางกํายของคนตํามอวัยวะต่ํางๆ อย่ํางครบถ้วน หํากขวัญออก จํากร่ํางไปบํางส่วน (เมื่อคนตกใจหรือเจ็บไข้) ญําติพี่น้องต้องทําพิธีเรียกขวัญ, สู่ขวัญ ให้กลับ เข้ําสู่ร่ํางกํายตํามเดิม คนนั้นจึงจะหํายเจ็บไข้
ถํา้ ขวญั ไมก่ ลบั เขํา้ รํา่ ง ควํามเจบ็ ปว่ ยกไ็ มท่ เุ ลํา หรอื ถํา้ ขวญั ออกหมดไปจํากรํา่ ง คนกต็ ําย “หํากขวัญออกจํากร่ํางกํายจนหมดคนจะตําย แล้วเคล่ือนไหวไม่ได้ตลอดไป” ขวัญท่ีออกจํากร่ํางจะกลํายเป็นผีขวัญ คือไม่มีรูปร่ําง จึงมองไม่เห็น แต่อําจทําอะไร
บํางอย่ํางได้ที่มีผลกระทบกระเทือนถึงผู้ยังมีชีวิตอยู่ โดยเฉพําะลูกหลํานในครอบครัว [ศาสนาและความเชอ่ื ไทดา ในสบิ สองจไุ ท สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม โดย สมุ ติ ร ปติ พิ ฒั น์
สถําบันไทยคดีศึกษํา มหําวิทยําลัยธรรมศําสตร์ พิมพ์คร้ังแรก พ.ศ.๒๕๔๕ หน้ํา ๑๐๖]
มหรสพในงานศพของไทย
งนั เฮอื นดใี นอสี ํานและในกลมุ่ ผไู้ ท เปน็ พธิ กี รรมสบื เนอื่ งจํากชมุ ชนดกึ ดํา บรรพห์ ลํายพนั ปี มําแล้ว จํากนั้นส่งทอดไม่ขําดสํายสู่ชุมชนบ้ํานเมืองปัจจุบัน
นับเป็นต้นทํางงํานศพของไทยซ่ึงพบทั่วไป แต่ที่สําคัญมีในวรรณกรรมรําชสํานัก กรุงรัตนโกสินทร์ เช่น อิเหนา, ขุนช้างขุนแผน
อิเหนา บทละครพระรําชนิพนธ์ ร.๒ พรรณนํากํารละเล่นสนุกสนํานเฮฮํางํานพระเมรุ ท่ีเมืองหมันหยํา
ขุนช้างขุนแผน แต่งหลัง ร.๒ พระพันวษําส่ังประหํารชีวิตนํางวันทอง แล้วมีงํานศพ มีกํารละเล่นมหรสพหลํายอย่ําง คนดูทุกชนช้ันสนุกโลดโผนเฮฮํา
๑
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 3๙
เสด็จสู่แดนสรวง