Page 44 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 44
ฝังศพใต้ถุนเรือน
งํานศพ มที บี่ ํา้ นคนตําย (ยงั ไมม่ วี ดั เพรําะยงั ไมร่ บั ศําสนําจํากอนิ เดยี แมม้ วี ดั แลว้ ในชนบท ยังมีพิธีศพในบ้ํานจนเมื่อไม่ก่ีปีมํานี้)
เม่ือเสร็จพิธีเรียกขวัญทุกอย่ํางแล้ว โดยใช้เวลํานํานจนเนื้อหนังร่ํางกํายคนตํายเน่ําขวัญ ยังไม่กลับมํา ต้องเอําศพฝังดิน ก็ฝังใต้ถุนเรือนหรือลํานกลํางบ้ําน ด้วยหวังอีกว่ําขวัญจะคืนร่ําง จึงทําภําชนะเขียนสีเป็นลํายขวัญฝังไปกับศพด้วย (เช่น หม้อลํายเขียนสีในวัฒนธรรมบ้ํานเชียง ขุดพบที่บ้ํานเชียง อ.หนองหําน จ.อุดรธํานี)
โดยไม่มีโลงศพ คนด้ังเดิมฝังศพใส่หลุมไว้ใต้ถุนบ้ําน ชุมชนบํางแห่งฝังศพทับซ้อน บริเวณเดียวกันหลํายยุค เพรําะอยู่สืบต่อกันมํานํานหลํายยุคหลํายสมัย นักโบรําณคดีขุดพบท่ัวไป โดยเฉพําะภําคพ้ืนทวีปอุษําคเนย์
[มีคําอธิบํายอีกมํากในหนังสือสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย ของ นํายชิน อยู่ดี กรมศิลปํากร พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๑๐ หน้ํา ๒๖, ๓๕, ๓๙, ๕๓, ๕๗ ฯลฯ]
ศพหมอผหี วั หนา้ เผา่ พนั ธ์ุ โครงกระดกู มนษุ ยร์ ําว ๓,๐๐๐-๒,๕๐๐ ปมี ําแลว้ นกั โบรําณคดี ขุดพบบริเวณใต้ถุนเรือน หรือลํานกลํางบ้ําน (หมํายถึงกลํางหมู่บ้ําน) และล้วนเป็นโครงกระดูกของ ตระกูลหัวหน้ําเผ่ําพันธุ์ จึงมีสิ่งของมีค่ําที่ทําด้วยเทคโนโลยีสูงจํานวนมํากฝังรวมอยู่ด้วย (คนท่ัวไป ไม่มี) เช่น เครื่องมือโลหะสําริด, เหล็ก ฯลฯ
ภําชนะดินเผําบรรจุกระดูกแบบต่ํางๆ เมื่อ ๒,๕๐๐ ปี มําแล้ว และเป็นต้นแบบของโกศสมัยหลัง สืบจน ปัจจุบัน ขุดพบบริเวณท่ีทุ่งกุลําร้องไห้
[ภําพลํายเสน้ จํากบทควําม ๒ เรอื่ ง ของ สกุ ญั ญํา เบําเนดิ (กรมศลิ ปํากร) คอื ๑. วฒั นธรรมทงุ่ กลุ ํารอ้ งไห้ กับ ๒. คนตําย/ควํามเชื่อ/พิธีกรรม สมัยก่อนประวัติศําสตร์ตอนปลําย วัฒนธรรมทุ่งกุลําร้องไห้ จํากหลักฐําน โบรําณคดี พิมพ์ในหนังสือทุ่งกุลา “อาณาจักรเกลือ” ๒,๕๐๐ ปี จากยุคแรกเริ่มล้าหลัง ถึงยุคม่ังคั่งข้าวหอม. สํานัก พิมพ์มติชน, ๒๕๔๖ หน้ํา ๒๐๗-๒๙๙]
ฝังศพน่ัง
คนตําย เพรําะขวัญหํายออกไปจํากร่ํางของคน ต้องมีพิธีเรียกขวัญให้ขวัญคืนร่ํางแล้วคน จะฟื้นคืนเป็นปกติ แต่ถ้ําขวัญหํายอย่ํางถําวรก็เอําศพไปฝัง โดยใส่ภําชนะต่ํางๆ เช่น ดินเผํา ฯลฯ (ที่จะมีพัฒนํากํารเป็นโกศทุกวันน้ี)
ฝังศพน่ัง มัดศพท่ํางอตัว บรรจุทั้งร่ํางในภําชนะดินเผําทรงกลม มีส่ิงของอุทิศขนําดเล็กๆ ใส่รวมด้วย มีฝําปิด ฝังดินแนวตั้ง
เสด็จสู่แดนสรวง
4๒ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ