Page 47 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 47

กรมศิลปํากร เคยขุดพบ (อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด) ภําชนะดินเผําใส่กระดูกคนตําย ทรงกลม มีฝําปิดทําให้ดูแล้วคล้ํายลูกน้ําเต้ํา เป็นพยํานว่ําคําบอกเล่ําดั้งเดิมนั้นได้รับยกย่องว่ําศักดิ์สิทธ์ิ เป็นท่ีรับรู้กว้ํางขวํางต้ังแต่รําว ๒,๕๐๐ ปีมําแล้ว
โกศ ภําชนะใส่ศพทําด้วยดินเผําหรือหินเสมือนครรภ์มํารดํา ล้วนเป็นต้นแบบโกศ สมัยหลังๆ จนปัจจุบัน โดยยืมคําว่ํา โกศ จํากภําษําบําลี-สันสกฤต เพ่ือเพ่ิมควํามศักดิ์สิทธิ์ แต่ใน อินเดียไม่มีประเพณีบรรจุศพใส่โกศ
(ซ้ําย) ภําชนะดินเผํา มีฝํา บรรจุกระดูกมนุษย์ รําว ๒,๕๐๐ ปี มําแล้ว พบในแหล่งโบรําณคดีเขตทุ่งกุลํา ร้องไห้ อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด (ภําพจํากหนังสือศิลปวัฒนธรรมไทย กระทรวงวัฒนธรรม พิมพ์ครั้งที่สอง พ.ศ. ๒๕๕๗ หน้ํา ๔๔)
(ขวํา) ไหใส่ศพในประเพณีของหมู่เกําะบอร์เนียว ขนําดใหญ่ใส่ศพผู้ใหญ่ ขนําดเล็กใส่ศพเด็ก ทั้ง ๒ ใบ มีรอยต่อตรงไหล่ไห เพรําะถูกเลื่อยเป็น ๒ ส่วน เอําศพบรรจุ แล้วปิดประกบด้วยชันยําเรือ (ภําพจํากหนังสือ A Borneo Journey into Death by Peter Metcalf, University of Pennsylvania Press, Philadelphia, 1982)
เฮือนแฮ่ว ในป่าแฮ่ว
เมื่อสภําพแวดล้อมทํางสังคมวัฒนธรรมเปลี่ยนไป ต้องหํามศพไปฝังนอกชุมชน
กจิกรรมหํามศพไปฝงัไมว่ํา่ทลี่ํานกลํางบ้ํานหรอืนอกชมุชนต้องมขีบวนแหป่ระโคมด้วยป่ี ฆ้อง กลอง กับร้องตะโกนเรียกขวัญ มีเค้ําอยู่บนภําพเขียนในถ้ําตําด้วง (บ้ํานวังกุลํา ต.ช่องสะเดํา อ.เมือง จ.กําญจนบุรี) และน่ําจะสืบเนื่องกลํายเป็นพิธีเดินสํามหําบ เก็บกระดูกทุกวันนี้
ต่อมําเรียกพื้นที่ฝังศพตรงนั้นด้วยคําจําเพําะต่ํางกัน ดังนี้
ลุ่มน้ําโขง เรียก ป่ําแฮ่ว, ป่ําเฮ่ว (ตรงกับ ป่ําเลว หมํายถึง ป่ําไม่ดี)
ลุ่มน้ําเจ้ําพระยํา เรียก ป่ําช้ํา [ตรงกับ ป่ําเลว (มีวลีเทียบว่ํา เลวทรํามต่ําช้ํา) หมํายถึง
ป่ําไม่ดี]
ด้วยควํามเช่ือที่ติดมํากับประเพณีดั้งเดิมฝังศพใต้ถุนเรือน จึงต้องปลูกเรือนคร่อมหลุมฝัง
๑
ไว้ด้วย ไทดําเรียก เฮือนแฮ่ว (หมํายถึง เรือนในป่ําช้ํา) หรือเฮือนแฮ้ว
ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ 45
เสด็จสู่แดนสรวง


































































































   45   46   47   48   49