Page 48 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 48
เฮือนแฮ้วที่ฝังศพของไทดําในเวียดนําม
[ภําพจํากหนังสือ ประวัติศาสตร์สิบสองจุไท ของ ภัททิยํา ยิมเรวัต พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.๒๕๔๔ หน้ํา ๒๕๓]
ภทั ทยิ ํา ยมิ เรวตั (มหําวทิ ยําลยั มหดิ ล) อํา้ งถงึ ศําสตรําจํารย์ ดร.ประเสรฐิ ณ นคร อธบิ ํายวํา่ เดิมคําน้ี คือ “เรี้ยว” ซ่ึงหมํายถึง “คนที่ตายไปนานแล้ว” และเรียกที่อยู่ของคนที่ตํายไปแล้วว่ํา “ป่าเรี้ยว” จํากคําว่ํา ป่ําเรี้ยว จึงกลํายเป็น ป่ําเร้ว ป่ําเฮ้ว ป่ําเฮี้ยว หรือป่ําแฮ้ว ในบํางถิ่น
ภทั ทยิ ํา อธบิ ํายอกี วํา่ “ระหวํา่ งตวั เรอื นและเนนิ ดนิ ใตถ้ นุ เรอื น จะมเี สน้ ฝํา้ ยสขี ําวทโ่ี ยงจําก ที่นอนของผู้ตํายบนเรือนมําสู่เนินดินบริเวณท่ีฝังกระดูก เรียกว่ํา ‘สายเจอว’ ซ่ึงจะเป็นเส้นทํางให้ ผู้ตํายขึ้นมําใช้ข้ําวของตลอดจนกินอําหํารบนเรือน
ภํายนอกเฮือนแฮ้วนี้ ใกล้ๆ กันจะปักเสําทํากอแฮ้ว ซึ่งบนยอดของกอแฮ้วจะปักร่ม คล้ํายฉัตร (ของไทยเรํา) บนเสําหลักตรงยอดท่ีมีร่มปักอยู่น้ีก็จะปักไม้แยกออกไปท้ัง ๒ ข้ําง ซ่ึงจะ ห้อยธงผ้ํา สีขําว สีแดง มีตัวม้ํา ตัวนก สําหรับเป็นพําหนะในกํารเดินทํางของผู้ตํายไปสู่เมืองฟ้ํา” (ประวััติศาสตร์สิบสองจุไท พ.ศ.๒๕๔๔)
เสด็จสู่แดนสรวง
4๖ ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ