Page 62 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 62
เมื่อแรกสวรรคต: สรงน้าและถวายเครื่องทรงพระบรมศพ
กรุงรัตนโกสินทร์คือควํามสืบเนื่องจํากกรุงศรีอยุธยํา ในสมัยกรุงศรีอยุธยําได้อธิบําย กํารสรงน้ําพระบรมศพพระมหํากษัตริย์ไว้ใน คาให้การชาวกรุงเก่า ควํามว่ํา เมื่อสมเด็จพระมหํา ธรรมรําชําสวรรคต ไดม้ กี ํารจดั กํารพระบรมศพโดยมลี ํา ดบั ดงั นคี้ อื สรงนํา้ ชํา ระพระบรมศพใหส้ ะอําด แลว้ จงึ ถวํายพระสคุ นธค์ อื นํา้ อบเพอื่ สรงพระบรมศพ จํากนนั้ จงึ เอําผํา้ คลมุ พระบรรทม (ทน่ี อน) และ นําผ้ําลํายริมเงินคลุมพระบรมศพไว้ ลําดับถัดมําเป็นกํารถวํายภูษําอําภรณ์ทรงพระบรมศพ สังวําล และพระชฎํา แลว้ จงึ นํา พระบรมศพไปประดษิ ฐํานไวย้ งั พระแทน่ ในพระมหําปรําสําท (ประชมุ คา ใหก้ าร กรงุ ศรอี ยธุ ยารวม ๓ เรอื่ ง ๒๕๕๓: ๒๐๗) อําจกลํา่ วไดว้ ํา่ กํารสรงนํา้ และถวํายพระสคุ นธส์ รงพระบรมศพ ก็อําจเปรียบได้กับกํารอําบน้ํา ประพรมของหอม และแต่งกํายให้แก่ผู้วํายชนม์ท่ีเป็นสํามัญชน ท่ีคนไทยยังถือปฏิบัติกันอยู่ในทุกวันน้ี
ขั้นตอนดังกล่ําวนี้ได้ถือปฏิบัติสืบมําในสมัยรัตนโกสินทร์ดังปรํากฏรํายละเอียดเกี่ยวกับ ถวํายนํา้ สรงและถวํายเครอ่ื งพระมหําสกุ ํา เมอ่ื ครําวพระรําชพธิ พี ระบรมศพพระบําทสมเดจ็ พระพทุ ธ เลิศหล้ํานภําลัย ซึ่งได้จัดข้ึนภํายในหมู่พระมหํามณเฑียรอันเป็นที่ประทับ โดยเมื่อแรกสวรรคตน้ัน สมเดจ็ พระบรมโอรสําธริ ําชเจํา้ (แปลวํา่ พระรําชโอรสพระองคใ์ หญ)่ หมํายถงึ กรมหมนื่ เจษฎําบดนิ ทร์ ซึ่งต่อมําคือ พระบําทสมเด็จพระนั่งเกล้ําเจ้ําอยู่หัว ได้ถวํายพระภูษําทรงคลุมประทมพระบรมศพ ด้วยพระภูษําส่วน “สีเสวตร” (หรือเศวตคือสีขําวชั้นในองค์หนึ่ง และพระภูษําตําดทองดอกไหมชั้น นอกองคห์ นง่ึ (ผนื หนงึ่ ) โดยคลมุ พระบรมศพไวบ้ นพระแทน่ ทที่ รงพระประชวร (จดหมายเหตรุ ชั กาล ที่ ๓ เล่ม ๑ ๒๕๓๐: ๑๕)
จํากนั้นเมื่อพระบรมวงศํานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ได้เสด็จมํายังพระรําชมณเฑียรที่ประทับ และ เจ้ําพนักงํานภูษํามําลําได้เชิญพระเครื่องต้นและพระมหําสุกําพร้อมแล้ว จึงได้ถวํายน้ําสรงและ ทรงพระเครอื่ งตน้ อยํา่ งพระจกั รพรรดริ ําชถวํายพระบรมศพ โดยใน จดหมายเหตรุ ชั กาลที่ ๓ ไดร้ ะบวุ ํา่ กรมหม่ืนเจษฎําบดินทร์พร้อมด้วยพระบรมวงศํานุวงศ์กรําบถวํายบังคมพระบรมศพ แล้วจึงสรงน้ํา พระสุคนธ์พระบรมศพ จํากนั้นถวํายพระภูษําลํายพระกระบวนพื้นขําวเขียนลํายทอง โดยทรงนุ่งผ้ํา ไวช้ ํายพกทดี่ ํา้ นหนํา้ ชนั้ หนงึ่ จํากนน้ั ถวํายพระภษู ําลํายพระกระบวนพนื้ ขําวเขยี นลํายทองมกี รวยเชงิ โดยทรงนุ่งผ้ําไว้ชํายพกที่ด้ํานหลัง อีกเป็นชั้นที่สอง จํากนั้นจึงถวํายสนับเพลําพร้อมเจียรบําดหรือ ผ้ําคําดเอว พ้ืนทองดอกเงิน ซ่ึงติดเชิงงอนตําดทอง แล้วทรงพระภูษําลํายพระกระบวนพื้นขําว เขียนทองมีกรวยเชิงโดยทรงนุ่งไว้ชํายพกที่ด้ํานหน้ําอีกคร้ัง
จํากนนั้ ทรงรดั พระองคห์ รอื เขม็ ขดั ประดบั เพชร ทรงสะพกั เฉยี งดว้ ยผํา้ ตําดทอง แลว้ ทรง ฉลองพระองคท์ ํา ดว้ ยผํา้ ตําดทอง มสี งั เวยี นหยกั ตน้ พระศอ และปลํายพระกรทํา ดว้ ยทองคํา ทรงฉลอง พระองคค์ รยุ ทองพนื้ ขําว ประดบั เพชรสํายทองมปี ระจํา ยําม พรอ้ มดว้ ยสงั วําลประจํา ทศิ ประดบั เพชร ทรงทองปลํายพระกรประดบั เพชรทพี่ ระกรซํา้ ยและขวําอยํา่ งละขํา้ ง ทนี่ วิ้ พระหตั ถท์ งั้ สขี่ องทงั้ สองขํา้ ง สวมพระธํา มรงค์ โดยนวิ้ พระหตั ถข์ วําทงั้ สที่ รงพระธํา มรงคเ์ พชร สว่ นนวิ้ พระหตั ถซ์ ํา้ ยทรงพระธํา มรงค์ ทับทิม มรกต ไพฑูรย์ และบุษย์น้ําทอง (บุศรําคัม) จํากน้ันทรงพระกองเชิงประดับเพชรซ้ําย และขวํา ทรงพระหัถโยลีตําดทองและพระบําทโยลีตําดทอง แล้วทรงฉลองพระบําทลงยํารําชําวดี
เสด็จสู่แดนสรวง
๖๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ