Page 82 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 82

มําจํากกํารลงท่ําอําบน้ํา และอื่นๆ อีก ภํายหลังกํารอําบน้ําศพจึงเปลี่ยนมําเป็นขั้นตอนกํารรดน้ํา ใส่มือพอสังเขปอย่ํางที่เห็นในปัจจุบัน (สมเด็จฯ เจ้ําฟ้ํากรมพระยํานริศรํานุวัดติวงศ์ และ พระยํา อนุมํานรําชธน ๒๕๓๘: ๗๗)
จํากท่ีกล่ําวมําข้ํางต้นแสดงให้เห็นว่ําโดยพื้นฐํานกํารอําบน้ําศพมีจุดประสงค์เพื่อทํา ควํามสะอําดให้แก่ศพเป็นครั้งสุดท้ําย อีกทั้งยังมีขั้นตอนของกํารตําขม้ินเข้ํากับสมุนไพรต่ํางๆ ตําม แต่ละท้องถิ่น สําหรับใช้ทําศพเพื่อดับกลิ่นและฆ่ําเชื้อโรค ลักษณะดังกล่ําวนี้ยังพบได้เช่นเดียวกัน ในประเพณีของชําวมุสลิมทํางปักษ์ใต้ที่มีกํารนําใบพุทรํามําผสมในน้ําอําบศพ และมีกํารนําน้ําผสม กํารบูรมําชําระศพเพื่อดับกลิ่นอีกด้วย (ปองทิพย์ หนูหอม ๒๕๔๐: ๕๔.๘๕)
อย่ํางไรก็ตําม ต่อมําได้มีกํารนําคติทํางพระพุทธศําสนํามําเชื่อมโยงอธิบํายประเพณี อําบน้ําศพของไทยว่ํามีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้ตํายมีลักษณะที่บริสุทธิ์ เป็นกํารเตรียมตัวก่อนที่จะ ไปไหวพ้ ระจฬุ ํามณเี จดยี ใ์ นสวรรคช์ น้ั ดําวดงึ ส์ และระหวํา่ งทรี่ ดนํา้ ใหก้ ลํา่ วหรอื นกึ ถงึ คํา ขออโหสกิ รรม ว่ํา “อิท มตสรีร อุทก วิย อโหสิกมฺม” อธิบํายเป็นปริศนําธรรมว่ํา “อันคนตายแล้วนี้ แม้จะมีคนอื่นๆ เอาน้าอบน้าหอม มารดมาสรง อย่างไรก็ตามที ก็ไม่มีโอกาสจะฟื้นคืนชีพมาได้ เหตุดังน้ันจึงไม่ควร ประมาทในชีวิต ในวัยเป็นต้น” (จันทร์ ไพจิตร ม.ป.ป.: ๒๕๔)
ในขณะที่ประเพณีทําศพของชําวฮินดู เมื่อมีคนตํายจะต้องนําศพไปยังลํานเผําในทันที โดยเผําใกล้ริมฝั่งแม่น้ําคงคํา ตํามควํามเชื่อที่ว่ําเป็นแม่น้ําศักดิ์สิทธิ์ในคติศําสนําฮินดูทุกนิกําย ดงั ปรํากฏในตํา นํานตํา่ งๆ เชน่ ในไวษณพนกิ ํายเชอื่ วํา่ แมน่ ํา้ คงคําไหลมําจํากพระองั คฐุ (นวิ้ หวั แมเ่ ทํา้ ) ของพระวษิ ณุ หรอื ในไศวนกิ ํายเชอื่ วํา่ พระศวิ ะทรงเอําพระชฎํา (มวยผม) รบั พระแมค่ งคําซงึ่ ไหลจําก สวรรค์ลงมําจํากกํารบําเพ็ญตบะของท้ําวภคีรถ เชื่อกันว่ําบริเวณเทวําลัยคงโคตรริเป็นสถํานท่ี ท่ีพระศิวะทรงเอําพระชฎํารับพระแม่คงคําไว้ เป็นต้น ชําวฮินดูจึงเชื่อว่ําน้ําในแม่น้ําคงคําสํามํารถ ชําระบําปและมลทินที่ติดอยู่ให้หมดได้ ผู้ใดตํายไปและได้เผําหรือฝังใกล้แม่น้ําคงคําจะเท่ํากับว่ํา ขนึ้ สวรรคไ์ ดส้ ะดวก หรอื ผใู้ ดทเี่ ปลง่ วําจําอทุ ํานวํา่ “คงคํา คงคํา” บําปทผ่ี นู้ นั้ ทํา ไวใ้ นสํามชําตทิ ลี่ ว่ ง มําแล้วจะปลดเปลื้องส้ินไป (พระยําอนุมํานรําชธน ๒๕๓๐: ๒๓๘๒-๒๓๘๕)
สํา หรบั ศพของชําวฮนิ ดจู ะหอ่ ดว้ ยผํา้ ถํา้ เปน็ ผชู้ ํายหอ่ ดว้ ยผํา้ ขําว ถํา้ เปน็ ผหู้ ญงิ จะหอ่ ดว้ ย ผ้ําสี แล้วมัดตรําสังติดกับแคร่ไม้ไผ่ จํากนั้นแห่ไปยังลํานเผําใกล้แม่น้ําคงคํา มีญําติสนิทเดินตําม ขบวน โดยมผี อู้ ําวโุ สนํา หนํา้ ขบวน รอ้ งไหค้ รํา่ ครวญอําลยั ผตู้ ําย เมอ่ื มําถงึ เชงิ ตะกอนจะนํา ศพลงไป อําบในแม่น้ําคงคําด้วยวิธีจุ่มศพลงแม่น้ําแล้วยกศพขึ้น เพรําะเชื่อว่ําจะทําให้วิญญําณผู้ตํายได้ไป สวรรค์ หรือบํางแห่งจะตักน้ํามํารดศพตั้งแต่ปลํายเท้ําถึงหัวเข่ํา ขั้นตอนต่อมําคือหํามศพเวียนซ้ําย ที่เชิงตะกอน โดยมีญําติผู้ตํายเดินตํามศพ แล้วจึงยกศพเผําบนเชิงตะกอน เมื่อหมดฟืนเจ้ําหน้ําที่ ผู้เผําจะกวําดเถ้ําถ่ํานและอัฐิลงแม่น้ําคงคํา (ส.ร. [นํามแฝง] ๒๕๐๓: ๒๘๘-๒๘๙) จะเห็นได้ว่ํา ในพธิ อี ําบศพของชําวฮนิ ดนู ํา้ ศกั ดส์ิ ทิ ธจิ์ ะมบี ทบําทในกระบวนกํารเพอื่ ทํา ใหว้ ญิ ญําณผตู้ ํายหมดบําป และข้ึนสวรรค์เป็นสําคัญ
ดังน้ัน กํารสรงน้ําพระบรมศพจึงเป็นประเพณีของอุษําคเนย์มํากกว่ําจะเป็นของอินเดีย เพียงแต่ภําษําที่ใช้ในงํานพระรําชพิธีอําจทําให้หลงคิดไปว่ําเป็นแบบแผนมําจํากอินเดีย
เสด็จสู่แดนสรวง
๘๐ ศิลปะ ประเพณี และความเชื่อในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ


































































































   80   81   82   83   84