Page 98 - เสด็จสู่แดนสรวง
P. 98
๑. เจํา้ พนกั งํานเชญิ เครอื่ งพระสกุ ํา แตง่ พระบรมศพ มรี ํายละเอยี ดตํา่ งกนั ไปในแตล่ ะรชั กําล ดงั ตวั อยํา่ งจํากคา ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรม กลํา่ วถงึ กํารถวํายเครอ่ื งพระมหําสกุ ํา พระบรมศพ สมเด็จพระเจ้ําอยู่หัวบรมโกศว่ํา
ครั้นสรงน้าหอมแล้วจึ่งทรงสุคนธารส แลกระแจะจวงจันทน์ทั้งปวง แล้วทรง พระสนบั เพลาเชงิ งอนทองชน้ั ใน แลว้ ทรงพระภษู าพนื้ ขาวปกั ทองชนั้ นอก แลว้ จงึ ทรง เครื่องต้นแลเคร่ืองทองแล้วจึงทรงฉลองพระองค์อย่างใหญ่ กรองทอง สังเวียรหยัก แลชายไหว ชายแครงตาบทพิ แลตาบหนา้ สงั วาลประดบั เพชร แลว้ จง่ึ ทรงทองตน้ พระกร แลปลายพระกรประดบั เพชร พระมหาชฎาเดนิ หนมหี า้ ยอด แลว้ ทรงพระธา มรงคเพชร อยเู่ พลงิ ทงั้ สบิ นวิ้ พระหตั ถแ์ ละสบิ นวิ้ พระบาท (ประชมุ คา ใหก้ ารกรงุ ศรอี ยธุ ยา ๒๕๕๓: ๒๙๘-๒๙๙)
๒. ถวํายแผน่ ทองคํา จํา หลกั ลํายดนุ มพี ระกรรณ สํา หรบั ปดิ ทพ่ี ระพกั ตร์ ซงึ่ ใน จดหมายเหตุ งานพระบรมศพรัชกาลที่ ๒ มีช่ือเรียกว่ํา “พระสุพรรณแผ่นจาหลักปริมณฑลฉลองพระพักตร์” ขนั้ ตอนนใ้ี นประเพณรี ําษฎรจ์ ะมกี ํารนํา ขผี้ งึ้ หนําประมําณครงึ่ นวิ้ มําแผป่ ดิ หนํา้ ผตู้ ําย หรอื บํางทปี ดิ ทตี่ ําและปําก ในกรณผี มู้ ที รพั ยจ์ ะใชท้ องคํา เปน็ หนํา้ กํากปดิ หนํา้ หรอื อําจจะปดิ ทองคํา เปลวบนขผี้ ง้ึ ตํามแต่ฐํานะของเจ้ําภําพ กํารทําเช่นน้ีเพื่อป้องกันกํารอุจําดตํา และเมื่อเผําศพเรียบร้อยจะนําทอง ไปสร้ํางพระพุทธรูป (พระยําอนุมํานรําชธน ๒๕๓๙: ๔๗)
๓. เจ้ําพนักงํานภูษํามําลําจัดพระบรมศพให้อยู่ในท่ําท่ีพระชํานุ (เข่ํา) ท้ังสองยกข้ึนแนบ เสมอพระองค์
๔. ถวํายพระปทมุ ปตั นกิ ําร หรอื ไมก้ ําจบั หลกั ดํา้ นลํา่ งมแี ปน้ เปน็ ฐํานรปู สเี่ หลยี่ ม ทปี่ ลําย ไม้ด้ํานบนทําเป็นทรงโค้งเพื่อรองรับพระหนุ (คําง) เจ้ําพนักงํานจะสอดไม้กําจับหลักเข้ําไประหว่ําง พระบําท ให้ปลํายไม้ด้ํานบนรองรับพระหนุ เพื่อจัดพระเศียรให้อยู่ในท่ําที่เหมําะสม
ม.ล.ชัยนิมิต นวรัตน อธิบํายประโยชน์ของกํารใช้ไม้กําจับหลักไว้ว่ํา ในสมัยที่เทคโนโลยี กํารเก็บรักษําศพยังไม่ก้ําวหน้ํา เมื่อเก็บรักษําศพไว้เป็นเวลํานํานรําวร้อยวัน ศพจะมีสภําพแห้งยุบ กองลงกับพื้นในโกศ ถ้ําเกินร้อยวันศพจะเริ่มแห้ง ส่วนศีรษะที่มีไม้กําจับหลักค้ําอยู่จะไม่กองลงมํา รวมกับอวัยวะเบื้องล่ําง แต่จะยังคงชูอยู่กับกระดูกสันหลัง ต่อมําในสมัยหลังมีกํารฉีดยํารักษําศพ ไม้กําจับหลังจึงหมดควํามจําเป็นไปในที่สุด (ชัยนิมิต นวรัตน ๒๕๕๘: ๕๓-๕๕)
๕. เจํา้ พนกั งํานเชญิ พระพําหําโอบมําดํา้ นหนํา้ และจดั อยใู่ นทํา่ ประนมพระหตั ถ์ ทพี่ ระหตั ถ์ ถวํายซองพระศรีทองคําลงยํา บรรจุดอกบัว ธูป เทียน เป็นเครื่องสักกํารบูชําพระมหําจุฬํามณีเจดีย์ ๖. ถวํายพระกัปปําสิกสูตร (ด้ํายสุกํา) เป็นกํารมัดตรึงพระบรมศพให้คงรูปด้วยด้ํายสุกํา ซ่ึงเป็นด้ํายดิบทําจํากฝ้ําย ในจดหมํายเหตุพระบรมศพรัชกําลที่ ๒ กล่ําวถึงข้ันตอนน้ีไว้ว่ํา “...แล้ว ถวายพันธิการ ด้วยพระกัปปาสิกะสูตรเปนบ่วงขันธห้า แต่พระบาทเปนประถมข้ึนไปตามลาดับ”
(คณะกรรมกํารเฉลิมพระเกียรติ ๒๐๐ ปี พระบําทสมเด็จพระน่ังเกล้ําเจ้ําอยู่หัว ๒๕๓๐: ๑๖)
๗. เชิญพระบรมศพประทับนั่งบนผ้ําขําวซึ่งเรียกว่ํา “พระกัปปําสิกะเสวตรพัตร” หรือท่ี คา ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรมเรยี กวํา่ “ผํา้ หอ่ เมยี่ ง” ซง่ึ มขี นําดยําวหกศอก ปซู อ้ นเปน็ หกแฉก
เสด็จสู่แดนสรวง
๙๖ ศิลปะ ประเพณี และความเช่ือในงานพระบรมศพและพระเมรุมาศ