Page 49 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 49

42



                  นี่คือ เรื่องราวการตอสูของ "คุณลุงนิล" หรือ คุณสมบูรณ ศรีสุบัติ เกษตรกรตัวอยางที่ไมยอมแพตอ

                  โชคชะตาชีวิต โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

                  จนสามารถปลดหนี้ปลดสิน และยืนอยูไดดวยลําแขงตนเอง และยังพรอมแบงปนสิ่งที่ตนไดรับจาก

                  "การเดินตามรอยพอ" ใหหลายคนที่อาจจะยังมองหาหนทางไมเจออยูในขณะนี้ดวย

                  นายเล็ก กุดวงคแกว
















                         นายเล็ก กุดวงคแกว เปนบุคคลที่สมควรไดรับการยกยองในฐานะที่ทานเปน “ปราชญชาวบาน”
                  และเปนผูนําตามธรรมชาติของชุมชน ผลงานที่โดดเดนของนายเล็ก คือ การเผยแพรความคิดในการอนุรักษ


                  ทรัพยากรธรรมชาติ โดยประยุกตภูมิปญญาทองถิ่นผสานกับแนวคิดทางพุทธศาสนา แนวความคิดของนาย
                  เล็กสามารถนําไปปฏิบัติและกอใหเกิดผล อีกทั้งยังสัมพันธกับวิถีเศรษฐกิจของชาวบาน บนพื้นฐาน ของการ


                  ใชชีวิตอยางพออยู พอกิน
                         ปจจุบันนายเล็ก สามารถสรางเครือขายการเรียนรูเพื่อการ “พึ่งพาตนเอง พึ่งพาธรรมชาติดวย


                  ความเคารพ” ในกวา 300 หมูบาน 94 อําเภอ ในจังหวัด 3 จังหวัด และเปนคณะกรรมการและวิทยากรให
                  หลายหนวยงาน ทั้งภาครัฐ หนวยงานเอกชนและองคกรชาวบานหลายแหงทั่วประเทศ


                         นายเล็ก กุดวงศแกว นับเปนปราชญชาวบานอีสานอีกทานหนึ่ง ที่ไดเผยแพรแนวความคิดดาน

                  เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรยั่งยืน เศรษฐกิจชุมชนและเศรษฐกิจวัฒนธรรม โดยมีรูปธรรมการปฏิบัติอยาง

                  ชัดเจน แนวทางการปฏิบัติดังกลาวเกิดจากกระบวนการเรียนรู ที่ไมแยกการศึกษาจากชีวิต เปนการศึกษา

                  เพื่อการอยูรวมกับธรรมชาติศึกษา ใหรูจักการอยูรวมกันดวยความเกื้อกูล ศึกษาเพื่อสรางเศรษฐกิจพอเพียง

                  ศึกษาเพื่อลดการเห็นแกตัว และเห็นแกผูอื่นมากขึ้น เครือขายกลุมอินแปง ที่นายเล็กเปนประธานเปนหนึ่ง

                  ในผูรวมกอตั้ง ประกอบดวยชุมชน 7 อําเภอรอบเทือกเขาภูพาน เปนตัวอยางของชีวิตที่งดงาม เปนชีวิตที่

                  ถนอมรักธรรมชาติ ถนอมรักคน ถนอมรักการอยูรวมกัน ถนอมรักวัฒนธรรม และมีจิตใจที่เกื้อกูลกัน อยู

                  อยางไทย พึ่งพาตนเอง พึ่งพาธรรมชาติดวยเคารพ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54