Page 51 - เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น
P. 51

44



                  ทางกลุมไดนําไปซื้อถุงดําเพื่อใชเพาะกลาไมพื้นบานมาแจกจายใหกับสมาชิกกลุม โดยสมาชิกกลุมจะเพาะ

                  ขยายพันธุไมพื้นบานแลวสงใหกองทุนกลางรอยละ 10 จากการดําเนินงานมา 3 ป กอใหเกิดกองทุนกลาง

                  เพิ่มขึ้นเปน 35,000 บาท

                         ในป พ.ศ. 2534 เปลี่ยนชื่อจาก “กลุมกองทุนพันธุไมพื้นบาน” เปน “กลุมอินแปง” ซึ่งพอบัวศรี

                  ศรีสูง ปราชญชาวบานจังหวัดมหาสารคามเปนผูตั้งให เนื่องจากเห็นวาที่บานบัวมีพืชพันธุธัญญาหาร

                  ผลหมากรากไมและน้ําทาอุดมสมบูรณ หากแปลตามหลักพุทธศาสนา คําวา “อิน” แปลวา ผูใหญ คําวา

                  “แปง” แปลวา สราง  “เราเปนผูใหญก็ควรสรางสิ่งตางๆ ไวเพื่อลูกหลานทั้งเรื่องการพึ่งตนเอง การสราง

                  แนวคิด การกระทํา เพื่อใหชีวิตมีความสุข ถาแปลตามภาษาทองถิ่นก็คือ พระอินทร หรือ เทวดาเปนผูสราง

                  สิ่งตางๆ ไวใหกับพวกเราไดอยูไดกิน”  ป พ.ศ.2535 กลุมกองทุนพันธุไมพื้นบานไดนํากองทุนไปซื้อที่ดินเพื่อ

                  เปนสถานที่ในการติดตอประสานงาน แลกเปลี่ยนภูมิปญญา ศึกษาทดลองทํากิจกรรมตางๆ เพื่อสนับสนุน

                  การพัฒนาชุมชนและหมูบานของตนจํานวน 5 ไร 1 งาน และไดทําโครงการเลี้ยงหมูพื้นบานเพื่อสรางรายได

                  เสริมใหสมาชิกของกลุม


                         ตอมาในป พ.ศ.2535-2536 กลุมอินแปงไดดําเนินการตามวัตถุประสงคหลัก ในการพัฒนาชนบท
                  อยางยั่งยืนในพื้นที่รอบปาเทือกภูพาน และไดมีคนรุนใหมที่อยูในชุมชนเขามาทําหนาที่ประสานงานใหกับ


                  กลุมอินแปง และประสานความรวมมือกับหนวยงานของรัฐในทองถิ่นมากขึ้น โดยเริ่มประสานงานกับ
                  สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ศูนยศึกษาและพัฒนาวนศาสตรชุมชนที่ 3, สถาบันวิจัย


                  และฝกอบรมการเกษตรสกลนคร และไดประสานความรวมมือกันเปนเครือขายเกษตรกรรมนิเวศภูพาน
                  โดยมีชุมชนเขารวมเครือขาย 22 คน จํานวน 289 คน โดยการสงเสริมการเกษตรแบบยั่งยืน การศึกษาและ


                  วิจัยการขยายพันธุไมพื้นบานที่มีอยูรอบเทือกเขาภูพาน และการแปรรูปพืชผักผลไมพื้นบาน
                         ปลายป พ.ศ. 2539 เครือขายอินแปงไดรับการจัดการจัดสรรกองทุนจากกรมสงเสริมคุณภาพ


                  สิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ภายใต “โครงการอนุรักษปาภูพานดวย

                  เครือขายเกษตรกรรมนิเวศ” จํานวน 500,000 บาท

                         ป พ.ศ. 2541 ไดรับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดลอม (UNDP)  ใหทุนสงเสริมพลังงานและ

                  เทคโนโลยีที่เหมาะสมในระบบเกษตรกรรมนิเวศ จํานวน 309,000 บาท

                         ปลายป พ.ศ. 2542 ไดทําการขยายเครือขาย โดยความรวมมือระหวางกระทรวงเกษตรและ

                  สหกรณ, กรมวิเทศสหการและ UNDP ภายใต “โครงการเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาการเกษตรแบบ

                  ยั่งยืน” ในพื้นที่ 12 ตําบล 10 อําเภอ ในจังหวัดสกลนคร

                         ป พ.ศ. 2543 ไดรับการสนับสนุนจากกองทุนทางสังคม (SIF-MENU) หรือโครงการจัดสวัสดิการ

                  ชุมชนเรงดวนเพื่อผูยากลําบาก จํานวน 15 ลานบาท โดยแยกบริหารตามเครือขาย
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56