Page 37 - วรรณกรรมมัธยม
P. 37

มนตรำแห่งสำยน้ ำ


                                    ใกล้เทศกาลออกพรรษาของทุกปีเทศบาล โรงเรียน และชุมชน  จะครึกครื้นและ
                  สนุกสนานกับการเตรียมตัวเข้าร่วมกิจกรรมประจ าปีที่เทศบาลนครรังสิตจัดขึ้น  คือ การแข่งขันเรือพาย

                  ประเพณีชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี  เป็นประจ าทุกปี
                  ในทุกๆ   ปี จะมีขบวนแห่ที่สวยงามน าด้วยวงโยธวาทิต ซึ่งเทศบาลนครรังสิตได้เชิญผู้เกี่ยวข้อง

                  จากหน่วยงานต่างๆ  มาประชุมวางแผนการจัดงานร่วมกัน  ครูเคยพูดกับพวกเราเสมอว่า “โรงเรียนของเรา
                  ตั้งอยู่ที่เทศบาลนครรังสิต ได้รับความอนุเคราะห์ช่วยเหลือสิ่งปลูกสร้างเครื่องมืออุปกรณ์การเรียนรวมถึง

                  ทุนการศึกษามากมายจากเทศบาลนครรังสิต   สิ่งที่พวกเราทุกคนจะตอบแทนคุณได้ก็ด้วยการตั้งใจเรียน
                  หนังสือให้เก่งๆ  แล้วกลับมาช่วยกันพัฒนาท้องถิ่นของเราให้ดีขึ้น  และที่ท าได้เลยขณะเรียนคือพวกเราควร

                  เข้าร่วมกิจกรรมของเทศบาลนครรังสิตช่วยกันอนุรักษ์และรักษาวัฒนธรรมอันดีงามของเทศบาลนครรังสิต
                  ต่อไป”
                                โรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ประสานงานงานกับเทศบาลนครรังสิต ในการ

                  จัดริ้วขบวนต่างๆ  ต่อจากวงโยธวาทิตก็จะเป็นขบวนอัญเชิญถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
                  สยามบรมราชกุมารี   เราทุกคนจึงมีความสุขและเต็มใจที่จะฝึกซ้อมเพื่อความ  เป็นระเบียบและเป็น

                  ส่วนหนึ่งของงานในครั้งนี้พี่ปราง พี่ใหม่ และน้องพะแพง พวกเราสามคนร่วมกิจกรรมนี้มาตั้งแต่เข้าเรียน
                  ม.1  ปีนี้  ม.6  คงจะเป็นปีสุดท้ายของพวกเราที่จะมีโอกาสช่วยเหลือกิจกรรมของโรงเรียน และเทศบาล

                  นครรังสิต  ท้องถิ่นที่รักของพวกเราวันที่พวกเรารอคอยก็มาถึงพรุ่งนี้แล้วสินะวันงาน  คืนนี้พวกเราต้อง
                  มานอนที่โรงเรียนเพื่อช่วยกันจัดเตรียมเสื้อผ้าให้น้องๆ  ในชุมนุม ครูเอื้อง  แม่ครูร าของพวกเราต้องมา

                  นอนค้างกับพวกเราเพื่อดูแลและเตรียมเสื้อผ้า อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบริ้วขบวนในวันพรุ่งนี้ ระหว่างรีดเสื้อผ้า
                  ตอนหัวค่ าพี่ปราง  ถามครูเอื้องว่า  “เหนื่อยไหมคะคุณครู  พวกหนูจบไปใครจะช่วยเตรียมของให้ครูคะ”
                  ครูเอื้อง  “ไม่เหนื่อยหรอกลูก กลับมีความสุขที่ได้มีโอกาสท าอะไรเพื่อท้องถิ่นของเราบ้าง รุ่นเราจบไป

                  รุ่นใหม่ก็สร้างขึ้นมา  ครูว่าดีเสียอีกนะที่จะได้มีลูกศิษย์ได้สืบสานประเพณีท้องถิ่นของเรา ได้ปลูกฝังให้
                  นักเรียนทุกคนรู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวม  ที่ส าคัญคือความสามัคคีเพราะถ้าไม่มีความสามัคคีการงาน

                  ทุกอย่างไม่มีทางส าเร็จไปได้เลยลูก”  พี่ใหม่พูดขึ้นว่า  “หนูเห็นรถโรงเรียนขนของให้น้องเก่ง  น้องเนม
                  และน้องๆ  อีกหลายคนพร้อมม้วนผ้าสีม่วง  ดอกไม้สดไปที่สะพานแดงกันแล้วค่ะคุณครู”  ครูเอื้อง

                  “น้องเนม  น้องเก่ง  เขาถนัดเรื่องการจัดตกแต่งดอกไม้และสถานที่ เธอเห็นสถานที่การจัดงานของทุกปี
                  นั่นแหละฝีมือของน้องๆ  เราทั้งนั้น อ้อ ! และยังมีคุณครูอีกหลายคนที่มีความสามารถช่วยกันตกแต่ง

                  แบ่งหน้าที่รับผิดชอบกันไปตามความถนัดของแต่ละคน   ส่วนเรื่องผ้าสีม่วง เราไปร่วมงานกันมาหลายปี
                  ใครพอจะตอบครูได้ไหมว่าท าไมเราต้องใช้สีม่วง”  พะแพงที่ก าลังพับจีบสไบหันกลับมาตอบครูเอื้องทันทีว่า
                  “เป็นสีประจ าพระองค์ของสมเด็จพระเทพฯ ค่ะ  เพราะเราชิงถ้วยพระราชทานของพระองค์ท่าน

                  จึงประดับตกแต่งด้วยสีม่วงทั้งผ้าและดอกไม้ค่ะครู”
                                   ครูเอื้อง “ดีนะที่มีคนตอบได้ร่วมงานมาหลายปีแล้วตอบไม่ได้ครูเสียใจแย่เลยเสียชื่อหมด”

                  ทุกคนหัวเราะสนุกสนานไม่รู้สึกเหน็ดเหนื่อย “ครูเอื้องคะ” พี่ปรางเอ่ยขึ้น “ประเพณีแข่งเรือนี่มีมานานแล้ว
                  หรือคะ” ครูเอื้อง  “ประเพณีแข่งเรือพายของเทศบาลนครรังสิตเท่าที่ครูทราบเริ่มเมื่อปีพุทธศักราช 2543






                                                             37
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42