Page 167 - Visionary Arts 2019
P. 167

“ เสื้อผ้ำกับชำวสิงคโปร์ ”





                                     นำงสำวสุธำมน สืบเส้ง





                      ผู้เขียนมีโอกำสได้ไปเยือนสิงคโปร์เมื่อช่วงต้นเดือนมกรำคม 2020 กับ
      ทำงคณะอักษรศำสตร์ มหำวิทยำลัยศิลปำกร ในวันสุดท้ำยเป็นวันที่ผู้เขียนและ

      คณะได้ไปพิพิธภัณฑ์แห่งชำติ ภำยในพิพิธภัณฑ์แห่งนั้นมีห้อง ๆ หนึ่งที่เต็มไปด้วย

      เครื่องแต่งกำย ทั้งที่ประเทศสิงคโปร์นั้นไม่มีชุดประจ ำชำติเนื่องจำกไม่ต้องกำรให้
      เกิดควำมขัดแย้งทำงชำติพันธุ์ขึ้นหำกชูชุดของชำติพันธุ์ใดชำติพันธุ์หนึ่งขึ้นเป็นชุด

                                                                                                             ื

      ประจ ำชำติ แต่สิงคโปร์กลับให้ควำมสำคัญกับกำรเล่ำประวัติศำสตร์ผ่ำนเส้อผ้ำ
      นั่นจึงท ำให้ผู้เขียนมีควำมสนใจต่อพัฒนำกำรทำงกำรแต่งกำยของชำวสิงคโปร์ว่ำ
      เมื่อไหร่กันที่ชำวสิงคโปร์เริ่มหันมำแต่งกำยแบบชำวตะวันตก


                      สิง คโ ป ร์ต ก เ ป็นอ ำณ ำ นิค ม ขอ งอัง ก ฤ ษ ใ น ปี  1 86 7    และช่ว งก่อ น

      ท ศ ว ร ร ษ ที่  1 9 0 0   ก ำ ร ศึก ษ ำ ส ำ ห รับ ผู้ห ญิง ไ ม่ไ ด้เ ป็น ที่ย อ ม รับ   ก ำ ร ป ฏิรูป
      กำรศึกษำจึงเริ่มเมื่อ 1887 เมื่อนักบวชนิกำยโปรเตสแตนต์ของคริสตจักรเมท

      อดิสต์ชำวออสเตรเลีย (   Australian  Methodist  missionary  )  ที่ชื่อโซเฟีย แบล

               (
      คมอล์    Sophia  Blackmore  )ก่อตั้งโรงเรียนส ำหรับเด็กผู้หญิงขึ้นในอำคำร
      พำณิชย์แห่งหนึ่ง แต่ถึงกระนั้นอิทธิพลของอังกฤษก็ยังไม่ได้กระทบต่อกำรแต่งกำย

      ของคนในประเทศสิงคโปร์ ณ ขณะนั้น



















                                       ภำพที่ 1  A group photograph of Sophia
                                        Blackmore with students of Methodist
                                                  Girls' School, 1915











                                                       167
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172