Page 168 - Visionary Arts 2019
P. 168
ทั้งสองรูปนี้เป็นรูปที่ผู้เขียนถ่ำย
มำจำกพิพิธภัณฑ์แห่งชำติสิงคโปร์ รูปภำพ
1
ที่ ตรงกลำงภำพ คือ Sophia Blackmore
ที่เ ด ิน ท ำ ง ม ำ ถ ึง สิง ค โ ป ร์เ มื่อ วัน ที ่ 1 6
กรกฎำคม 1887 ภำพนี้ คือ ภำพที่ Sophia
Blackmore ถ่ำยร่วมกับนักเรียนในชั้นเรียน
ของเธอ ส่วนรูปภำพที่ เป็นกำรจ ำลองให้
2
เ ห ็น ถ ึง ส ภ ำ พ ชั ้น เ ร ีย น ข อ ง โ ร ง เ ร ีย น
ภำพที่ 2 Methodist Girls’ school
นอกจำกจะเห็นบรรยำกำศของโรงเรียนจำกภำพถ่ำยข้ำงหลังแล้ว เรำยังได้
เห็นเครื่องแต่งกำยของนักเรียนที่คำดว่ำได้รับอิทธิพลจำกวัฒนธรรมจีนซึ่งเป็น
ประชำกรส่วนใหญ่ของประเทศสิงคโปร์ รวมถึงกำรไว้ผมของนักเรียนหญิงก็มี
ข้อก ำหนดให้กำรเกล้ำผมขึ้นไป ทั้งนี้อำจพิจำรณำได้ว่ำกำรแต่งกำยของชำว
สิงคโปร์ในสมัยที่ตกเป็นอำณำนิคมของอังกฤษ ชำวสิงคโปร์ไม่ได้ถูกบังคับให้
ต้องเปลี่ยนวิถีชีวิตในด้ำนกำรแต่งกำยเพรำะยังคงสำมำรถเห็นกำรแต่งกำย
ตำมเชื้อชำติของคนในประเทศสิงคโปร์ได้อยู่
ป ี 1 9 4 2 เ ป ็น ช ่ว ง ข อ ง
2
สงครำมโลกครั้งที่ ประเทศญี่ปุ่นประกำศ
ท ำ ส ง ค ร ำ ม กับ อัง ก ฤ ษ แ ล ะ ส ำ ม ำ ร ถ ยึด
สิงคโปร์เอำไว้ได้ แต่ผลสรุปของสงครำม
ครั้งนี้ญี่ปุ่นกลับเป็นฝ่ำยแพ้สงครำมโลกครั้ง
2
ที่ ท ำให้เมื่อสงครำมสิ้นสุดอังกฤษกลับมำ
ครอบครองสิงคโปร์ได้ตำมเดิม แต่ในช่วง
ภำพที่ 3 ระยะเวลำสั้น ๆ ที่ญี่ปุ่นเข้ำมำยึด ครองนี้
ญี่ปุ่นก็เข้ำมำมี
บทบำทในประเทศสิงคโปร์เช่นกัน ดังจะเห็นได้จำกรูปที่ 3 ซึ่งเป็นรูปที่ผู้เขียน
รู้สึกสนใจมำกที่สุดเพรำะตัวผู้เขียนก็ก ำลังศึกษำภำษำญี่ปุ่นอยู่เช่นกัน แต่ไม่เคย
ทรำบว่ำช่วงที่สิงคโปร์ตกอยู่ภำยใต้กำรปกครองของญี่ปุ่นจะมีกำรเรียน
ภำษำญี่ปุ่นด้วย อีกทั้งคิดว่ำเป็นภำพที่ไม่สำมำรถหำชมได้ง่ำยจึงบันทึกกลับมำ
เช่นกัน หำกพิจำรณำตำมภำพ แม้จะมีกำรสอนภำษำญี่ปุ่นแต่เรื่อง ของอัต
ลักษณ์ทำงเชื้อชำติที่แสดงผ่ำนกำรแต่งกำยของคนในสิงคโปร์ขณะนั้นไม่ได้ถูก
ลบหำยไปซึ่งจะเห็นได้ว่ำนักเรียนในภำพยังคงใส่หมวกที่เป็นสัญลักษณ์ของชำว
มำเลย์ซึ่งเป็นหนึ่งในเชื้อชำติที่อำศัยอยู่ในประเทศสิงคโปร์
168