Page 11 - ประวัติ ผลงานและประสบการณ์ นายชนะศักดิ์ อ
P. 11

4



                        รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีคณะกรรมการการเลือกตั้ง ๔ ชุด ท าหน้าที่
                        จัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการเลือกตั้งทั่วไป จ านวน ๖ ครั้ง โดย ๒ ใน ๖ ครั้ง คือ
                        วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๙ และวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ถูกศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยว่าเป็นการ

                        เลือกตั้งที่มีปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ดังนี้
                               ค าวินิจฉัยที่ ๙/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๙ วินิจฉัยว่าการด าเนินการเกี่ยวกับ

                        การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นการทั่วไป เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๙ มีปัญหาความชอบ
                        ด้วยรัฐธรรมนูญตั้งแต่เริ่มต้นของกระบวนการจัดการเลือกตั้ง ในส่วนที่เกี่ยวกับการก าหนดวัน

                        เลือกตั้งตามพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๙ และการ ด าเนินการของ
                        คณะกรรมการการเลือกตั้งเกี่ยวกับมติในการจัดคูหาเลือกตั้งที่ไม่เที่ยงธรรม จึงเป็นการเลือกตั้ง ที่ไม่

                        ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ มาตั้งแต่เริ่มต้นของกระบวนการจัดการเลือกตั้ง และ
                               ค าวินิจฉัยที่ ๕ /๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๗ ว่าพระราชกฤษฎีกายุบสภา
                        ผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๖ เฉพาะในส่วน ที่ก าหนดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็น

                        การเลือกตั้งทั่วไป ในวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ไม่สามารถจัดการให้เป็นการเลือกตั้งวันเดียวกัน
                        ทั่วราชอาณาจักร จึงไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ มาตรา ๑๐๘ วรรคสอง ประกาศคณะรักษาความสงบ

                        แห่งชาติ เมื่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติเข้าควบคุมอ านาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่
                        ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ท าให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง
                        แต่คณะกรรมการการเลือกตั้ง และส านักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ยังคงสถานะเป็นองค์กร

                        อิสระตามรัฐธรรมนูญ ตามประกาศ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ ๕/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๒

                        พฤษภาคม ๒๕๕๗ เรื่อง การสิ้นสุดชั่วคราวของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และฉบับที่
                        ๑๑/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เรื่อง การสิ้นสุดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                        ข้อ ๕. องค์กรอิสระ และองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช ๒๕๕๐ ยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไป

                        และฉบับที่ ๒๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เรื่อง ให้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
                        มีผลบังคับใช้ต่อไป ข้อ ๓. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง

                        พ.ศ. ๒๕๕๐ รวมถึงฉบับที่ ๕๗/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๗ ให้พระราชบัญญัติประกอบ
                        รัฐธรรมนูญบางฉบับมีผลบังคับใช้ต่อไป ซึ่งประกอบด้วยพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วย
                        การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติ

                        ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
                        ว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลบังคับใช้ต่อเนื่อง โดยไม่สะดุดลงจนกว่าจะมี

                        กฎหมายแก้ไข เพิ่มเติมหรือยกเลิก โดยให้คณะกรรมการการเลือกตั้งและศาลยังมีอ านาจพิจารณา
                        และวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับ การเลือกตั้งต่อไป โดยการพิจารณาและวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับการเลือกตั้งและ

                        การเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งในการเลือกตั้ง สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น ให้เป็นไปตาม
                        ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ ๕๘/๒๕๕๗ เรื่อง การพิจารณาและวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับ

                        การเลือกตั้งและการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น และผู้บริหารท้องถิ่น
                        ลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๗ (ยกเลิกฉบับที่ ๕๑/๒๕๕๗) ให้ศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค
                        มีอ านาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับการเลือกตั้งและการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง ในการเลือกตั้ง
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16