Page 16 - Project
P. 16
6
2.1.2 สมโภชน์ วงษ์เขียด และคณะ (2560 : หน้า 261-266) ในงานวิจัยฉบับนี้น าเสนอการ
ออกแบบและพัฒนาชุดฝึกการเขียนจอทัชสกรีนของ PLC ส าหรับควบคุมมอเตอร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง
ชุดฝึกการเขียนจอทัชสกรีนของ PLC เป็นสื่อในการเรียนการสอนภายในโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า
อุตสาหกรรม เพื่อให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจได้มากขึ้นหลังจากที่ได้เรียนในภาคทฤษฎีแล้วก็ลงมือท าการ
ทดลองปฏิบัติตามใบงานจริง ซึ่งชุดฝึกการเขียนจอทัชสกรีนของ PLC ปฏิบัติได้ด้วยตัวเองท าให้เกิดความ
เข้าใจได้ดียิ่งขึ้นในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้สามารถช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะการใช้อุปกรณ์อย่างถูกต้อง
และปลอดภัย เพราะผู้เรียนได้ลงมือทดลองและเรียนรู้ได้จากของจริง ตลอดจนก่อให้เกิดความเข้าใจอย่าง
แท้จริง การวิจัยได้ว่าชุดทดลองปฏิบัติการควบคุมมอเตอร์ด้วย PLC ที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้ฝึกปฏิบัติการ
ควบคุมมอเตอร์ในเรื่องการสตาร์ทมอเตอร์โดยตรงได้การกลับทางหมุนมอเตอร์ได้การสตาร์ทมอเตอร์แบบ
สตาร์- เดลต้าอัตโนมัติ และการให้มอเตอร์ท างานเรียงกันได้ชุดทดลองปฏิบัติการควบคุมมอเตอร์ด้วย PLC
มีความเหมาะสมในเรื่องขนาดน้ าหนักการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์การติดตั้งและการจัดวางอุปกรณ์มีความ
ชัดเจนของสัญลักษณ์และตัวอักษรมีความเรียบร้อยสวยงามมีความปลอดภัยในการใช้งานมีความทนทาน
สะดวกในการต่อวงจรการเขียนโปรแกรมข้อมูลการบ ารุงรักษาและเคลื่อนย้ายการจัดเก็บ
2.1.3 ชนินทร์ พนาพรหม และคณะ (2558 : หน้า 3-14) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้าง
โปรแกรม 3 มิติ ส าหรับทดสอบการเรียนรู้ระบบอัตโนมัติเบื้องต้นที่ควบคุมด้วย PLC ศึกษาประสิทธิภาพ
การน าสื่อการสอนทางด้านซอฟแวร์คอมพิวเตอร์มาใช้ในการสอน โปรแกรม 3 มิติ ส าหรับทดสอบการ
เรียนรู้ระบบอัตโนมัติเบื้องต้นที่ควบคุมด้วย PLC นี้สามารถที่จะใช้เป็นสื่อการสอนในวิชา PLC เบื้องต้น
และในรายวิชาทางด้านระบบอัตโนมัติเบื้องต้นได้เพราะสามารถสร้างเงื่อนไข Input/Output ใน PLC
และน ามาจ าลองการท างานในโปรแกรมจ าลอง 3 มิติตามเงื่อนไขที่เราได้สร้างไว้ใน PLC ได้ จึงเหมาะ
ส าหรับใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนทางด้านวิชา PLC เป็นอย่างยิ่งการสร้างโปรแกรม 3 มิติ ส าหรับ
ทดสอบการเรียนรู้ระบบอัตโนมัติเบื้องต้นที่ควบคุมด้วย PLC เป็นสื่อการเรียนที่ผู้เรียนสามารถน าไป
ประกอบการเรียนวิชา โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ได้ นอกจากนี้โปรแกรม 3 มิติ ส าหรับทดสอบ
การเรียนรู้ระบบอัตโนมัติเบื้องต้นที่ควบคุมด้วย PLC ยังมีการต่อใช้งาน Input Output ของ PLC เข้ากับ
อุปกรณ์รับสั่งข้อมูลระหว่าง โปรแกรม 3 มิติ กับ PLC ท าให้ผู้เรียนมีทักษะการต่อใช้งาน PLC เพิ่มขึ้นด้วย
โครงงานการสร้างโปรแกรม 3 มิติ ส าหรับทดสอบการเรียนรู้ระบบอัตโนมัติเบื้องต้นที่ควบคุมด้วย PLC
สามารถแบ่งโครงสร้างออกเป็น สามส่วนใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ โปรแกรมเมเบิลลอจิก-คอนโทรลเลอร์ PLC
โปรแกรม 3 มิติ และชุดรับส่งข้อมูลระหว่าง PLC กับโปรแกรม 3 มิติในส่วน PLC จะใช้ยี่ห้อ Mitsubishi
Fx1s ในการทดสอบการท างานและโปรแกรม 3 มิติเป็นโปรแกรม ที่ออกแบบการท างานของสายพาน
ล าเลียงและการคัดแยกวัตถุด้วยเซนเซอร์ที่มีการวางระดับต่างกันส าหรับโปรแกรม 3 มิติ จะใช้โปรแกรม
3Ds Max ในการขึ้นรูปอุปกรณ์ต่าง ๆ
2.1.4 สุเมธ สงวนใจ และคณะ (2554 : หน้า 17-40) การวิจัยเรื่องชุดทดลองปฏิบัติการควบคุม
มอเตอร์ด้วย PLC ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาให้เหมาะสมกับการใช้ฝึกปฏิบัติการควบคุมมอเตอร์
ด้วย PLC โดยการติดตั้งอุปกรณ์เสริมให้มีความปลอดภัย ทนทานและสะดวกในการฝึกปฏิบัติการ การหา
คุณภาพของชุดทดลองปฏิบัติการควบคุมมอเตอร์ด้วย PLC โดยการทดสอบสมรรถนะในการสตาร์ท
มอเตอร์โดยตรง การกลับทางหมุนมอเตอร์ การสตาร์ทมอเตอร์ แบบสตาร์-เดลต้า อัตโนมัติ และการให้