Page 15 - Project
P. 15
บทที่ 2
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
หลักการและทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการชุดทดลอง Automation Conveyor ทั้งการ
วิจัย และโครงการต่าง ๆ ที่ได้จัดท าขึ้นมาเพื่อเป็นชุดฝึก ให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากการทดลองที่เหมือนจริง
รวมถึงบอกโครงสร้างของชุดทดลอง และข้อมูลของอุปกรณ์รวมถึงทฤษฎี การน าไปใช้ เพื่อที่จะได้ใช้งาน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ไม่ท าให้อุปกรณ์เหล่านั้น ช ารุดเสียหาย เป็นเหตุท าให้อายุการใช้งานสั้นลง
2.1 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.1.1 เฉลิมวุฒิ ยุทธไชย และคณะ (2557 : หน้า 51-108) การท าโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์
เพื่อสร้างชุดการสอนระบบควบคุมด้วยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ เพื่อน าไปใช้เป็นสื่อในการเรียนการ
สอนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า (2104-2114) แผนกวิชาช่างไฟฟ้า
ของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในเรื่อง ค าสั่งการป้อนข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย 3 เรื่องย่อย
การเขียนโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ขั้นพื้นฐาน การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงด้วยค าสั่ง Timer
และการเขียนโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ควบคุมระบบนิวเมติกส์ไฟฟ้าด้วย Sensor และค าสั่ง
Counter ขอบเขตในการจัดท าโครงการผู้จัดท าได้ก าหนดขอบเขตการจัดท า คือการสร้างชุดการสอน
ระบบควบคุมด้วยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ 1 ชุด โดยชุดการสอนสามารถทดลองได้ 3 เรื่อง
และท าคู่มือการใช้งานชุดการสอน การจัดสร้างชุดการสอนนี้ ผู้จัดท าได้ด าเนินการจัดท าตามขั้นตอน
ดังนี้คือ การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น ในรายละเอียดของวิชา การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า (2104-2114)
แผนกวิชาช่างไฟฟ้าของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามหลักสูตรและโครงสร้างรายวิชาและ
ด าเนินการจัดท าชุดการสอนระบบควบคุมด้วยโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์หลังจากนั้นน าไปใช้กับ
นักศึกษาโดยให้นักศึกษาทดลองตามใบงานที่ได้ออกแบบไว้การสร้างใบงานนั้นต้องให้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้สอดคล้องกับเนื้อหารายวิชาสามารถทดลองได้และการสร้างคู่มือชุดการสอน โดยในแต่
ละขั้นตอนผู้จัดท าได้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญและอาจารย์ที่ปรึกษา จนกระทั่งท าชุดการสอนระบบควบคุมด้วย
โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์จ านวน 1 ชุด แล้วเสร็จอย่างสมบูรณ์ผลจากการด าเนินการสร้าง