Page 43 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 43

๔๒

                           ๒. พระรำชด ำริเกี่ยวกับปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง หลักกำร และควำมส ำคัญ

                                ควำมเป็นมำของแนวพระรำชด ำริ ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง

                                      ปี ๒๕๑๗ ช่วงสงครามเย็น ความขัดแย้งทางสังคม ภาวะปั่นป่วนทางเศรษฐกิจ

                  สถานการณ์ประเทศต่าง ๆ ก าลังย่ าแย่ ตกต่ า เพราะมุ่งพัฒนาสู่ความทันสมัย มุ่งแสวงหาอานาจ ลัทธิ จึงท าให้เกิด
                             ั
                                   ื่
                  แนวคิดการพฒนาเพอส่วนรวมให้อยู่ดีกินดี พออยู่ พอกิน มีความสงบ โดยการพฒนาต้องท าเป็นขั้นเป็นตอน
                                                                                     ั
                  ให้พออยู่ พอกิน แล้วค่อยพัฒนาไปสู่ขั้นก้าวหน้า
                                                                                                ื่
                                      ปี ๒๕๒๒-๒๕๒๖ มีพระราชด าริให้จัดตั้ง “ศูนย์ศึกษาการพฒนา”  เพอศึกษารูปแบบ
                                                                                       ั
                  การพัฒนาที่เหมาะสมสอดคล้องกับลักษณะภูมิสังคม สร้างองค์ความรู้ขึ้นมา
                                      ปี ๒๕๓๕ พระราชทาน รูปแบบเกษตรทฤษฎีใหม่ การจัดการพนที่เกษตรกรรมให้สามารถ
                                                                                        ื้
                  พึ่งพาตัวเองได้ ภายใต้ความสมดุลของระบบการผลิต ประกอบด้วย น้ า - นาข้าว - ไร่สวน - ปศุสัตว์ ที่อยู่อาศัย

                                      ปี ๒๕๔๐ วิกฤตเศรษฐกิจฟองสบู่แตก ทรงพระราชทานแนวพระราชด าริของเศรษฐกิจ
                  พอเพียง เน้นการพอมี พอกิน พออยู่ สามารถอยู่ได้เพื่อสร้างรากฐานที่มั่นคงต่อไป

                                                                                                     ้
                                      ดังนั้น เศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวคิดใหม่ ไมใช่แนวคิดทางเศรษฐกิจเพื่อการคาการขาย
                                                                          ่
                  ซึ่งเรียกว่า Trade Economy แต่เป็นแนวคิดที่ท าอะไรด้วยความเป็นเหตุเป็นผล อะลุ่มอล่วย พอเพยงกับตัวเอง
                                                                                                   ี
                  พอมีพอใช้ พออยู่ พอกิน อยู่ได้ไม่เดือดร้อน ผลิตได้พอใช้ ถ้าผลิตได้มากกว่าที่ต้องการก็ขาย แต่ขายไม่ห่างไกล

                  ไม่ต้องเสียค่าขนส่ง ท าแล้วมีความสุขและมีความสงบ เรียกว่า “Sufficiency Economy” ซึ่งสามารถน าไปปรับใช้
                  ในเศรษฐกิจของประเทศและของโลกได้


                                หลักกำรปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
                                      ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบ ดังนี้

                                         ๑) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป

                  โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
                                                                                            ี
                                         ๒) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพยงนั้น จะต้องเป็นไป
                  อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยอย่างรอบคอบ
                                         ๓) ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง

                  ด้านต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต

                                      โดยมีเงื่อนไขของการตัดสินใจและด าเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใน ๒ ประการ ได้แก  ่
                                         ๑) เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน

                                         ๒) เงื่อนไขคุณธรรม ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต

                  และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด าเนินชีวิต
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48