Page 44 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 44

๔๓

                                ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงกับกรอบแนวคิดในกำรพัฒนำ
                                      เป็นหลักปรัชญา ที่เป็นตรรกะของความเป็นเหตุปัจจัย ความเป็นจริง ความเป็นเหตุเป็นผล

                  ประยุกต์ใช้ในระดับบุคคล ชุมชน ประเทศ โลก ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งมิติสังคม มิติสิ่งแวดล้อม และมิติเศรษฐกิจ

                                ั
                  สู่เป้าหมายการพฒนาที่ยั่งยืน และเป็นแนวคิดที่เป็นองค์รวม มีความเท่าทันที่สามารถรองรับปรับตัวได้กับ
                  การเปลี่ยนแปลง มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมให้มีความเข้มแข็ง มีรูปแบบการปฏิสัมพนธ์ทางสังคม ช่วยเหลือ
                                                                                         ั
                  เกื้อกูล แบ่งปัน รู้รัก สามัคคี ด าเนินชีวิตอยู่ร่วมกับสภาพสิ่งแวดล้อมอย่างสอดคล้องเหมาะสม สมดุล มั่นคง ยั่งยืน
                  แสดงให้เห็นถึงสรรพสิ่งล้วนเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้นการสร้างรากฐานของชีวิต รากฐานแผ่นดิน

                  ให้มั่นคง คือ ความพอมี พอกิน พออยู่ พอใช้ เมื่อพนฐานมั่นคงแล้ว จึงค่อยเสริมความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจ
                                                          ื้
                  สูงขึ้นโดยล าดับต่อไป หากมุ่งทุ่มเทแต่สร้างความเจริญยกเศรษฐกิจขึ้นอย่างรวดเร็ว ก็จะเกิดความไม่สมดุล
                                      ดังนั้น ปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง จึงเป็นหลักการที่มุ่งพัฒนาคุณภาพคน ให้มีความรู้

                                                                                                           ี
                  มีคุณธรรม เรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นบุคคลที่มีศักยภาพ เข้าใจ เข้าถึงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง คิดอย่างพอเพยง
                                                                                            ี
                                                                  ุ
                             ี
                  พูดอย่างพอเพยง ปฏิบัติอย่างพอเพยง มีความเพยร มีความอตสาหะ อดทน ซื่อสัตย์ สุจริต มีเมตตาธรรม มีปัญญา
                                                         ี
                                              ี
                  พัฒนาตนให้เป็นผู้ขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืนได้อย่างมีประสิทธิภาพ บนหลักคิดแบบบูรณาการเข้ากับศาสตร์พระราชา
                  การพัฒนาตามแนวพระราชด าริ “ภูมิสังคม” สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพภูมินิเวศ ภูมิวัฒนธรรม และโครงการ
                  อันเนื่องมาจากพระราชด าริ ๔,๓๕๐ โครงการ


                           ๓. แนวทำงประยุกต์ใช้หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและศำสตร์พระรำชำสู่เป้ำหมำยกำรพัฒนำ
                  อย่ำงยั่งยืน


                                ควำมสัมพันธ์ระหวำงปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง (SEP) และเป้ำหมำยกำรพัฒนำ
                                                 ่
                  ที่ยั่งยืน (SDGs)






















                                                                                                   ั
                                                               ี
                                      หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง (SEP) มีความสอดคล้องกับเป้าหมายการพฒนาที่ยั่งยืน
                  (SDGs) อย่างกลมกลืน เพราะมีเป้าหมายปลายทางที่สอดคล้องกัน กล่าวคือ ทั้ง SEP และ SDGs ต่างมุ่งพฒนา
                                                                                                         ั
                  และสร้างความสมดุลในมิติสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ส่วนที่เหลื่อมกันอยู่แต่ไม่ขัดกันก็คือ SEP เน้นมิติ
                  วัฒนธรรมด้วย ขณะที่ใน SDGs มิติวัฒนธรรมแฝงอยู่ในหลายเป้าหมาย และมีส่วนของสันติภาพและความร่วมมือ

                  เพื่อการพัฒนาเพิ่มเข้ามา
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49