Page 49 - รวมถอดบทเรียน CAST
P. 49

๔๘

                                         ๒) กระบวนการปฏิบัติการพัฒนาที่ยั่งยืน การปฏิบัติที่ยั่งยืนเป็นการปฏิบัติอย่างเป็น
                  กระบวนการบูรณาการ เป็นองค์รวมในทุกมิติสังคม ธรรมชาติ และเทคโนโลยี

                                              ั
                                         การพฒนากระบวนการเรียนรู้ สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ให้รู้เข้าใจปรัชญาของ
                                                                                                  ั
                               ี
                  เศรษฐกิจพอเพยงตระหนักรู้หลักการแนวคิด การน าไปปฏิบัติ เกิดปัญญา สามารถด าเนินการพฒนาที่ยั่งยืน
                  บนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการ “ท าให้รู้” ผ่านการจัดการกระบวนการเรียนรู้:
                  “คนเป็นศูนย์กลางในกระบวนการพัฒนา”

                                      กำรเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม/พัฒนำควำมรู้บนฐำนภูมิปัญญำ

                                                                                 ั
                                                                                                ั
                                         ใช้เทคนิค การรับฟังด้วยความตั้งใจ ฟงเขาให้มาก ฟงด้วยความตั้งใจ ฟงอย่างให้เกียรติ
                                                                      ั
                  จากนั้นตั้งค าถาม ตั้งประเด็นชวนให้คิด ชวนให้หาค าอธิบาย แล้วเสริมแนวคิด
                                                              ื่
                  อธิบายเพิ่มเติม ขยายแนวคิดในโอกาสที่เหมาะสม เพอหาข้อสรุปร่วมกันใน
                  วงเสวนา การใช้กระบวนการสนทนากลุ่ม (Focus group) และการอภิปรายกลุ่ม
                  (Group discussion)


                                      พัฒนำควำมรู้บนฐำนขององค์ควำมรู้/กำรอบรม กำรถ่ำยทอด
                                                     จัดท าหลักสูตร ที่มีความสอดคล้องกับความสนใจ ความต้องการที่ต้องการ

                                                 เรียนรู้ และค้นหากลุ่มเป้าหมาย ผู้สนใจ ผู้มีความต้องการที่จะพฒนา
                                                                                                        ั
                                                 ก้าวหน้า หนุนเสริมพลังหลังการเรียนรู้ สนับสนุนปัจจัย และโอกาสให้เกิด
                                                 การปฏิบัติ ประกอบกับติดตาม ประเมินการน าความรู้ไปปฏิบัติอย่างถูกต้อง

                                                 หรือเรียนรู้จากสิ่งที่ผิดพลาด เพอน าไปสู่การปรับปรุงและพฒนาต่อยอด
                                                                                                  ั
                                                                           ื่
                                                 ด้วยความใส่ใจติดตามความต่อเนื่อง และเสริมสร้างความรู้ในล าดับที่มากขึ้น

                                      กำรจัดกำรควำมรู้/พัฒนำควำมรู้บนฐำนกำรสร้ำงปัญญำ
                                         การน าความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติ ผ่านกระบวนการสืบค้น แสวงหา ประมวลผล

                  คิดวิเคราะห์ พจารณาแนวทางที่เหมาะสม เลือกเอาความรู้ที่สอดคล้องไปออกแบบและก าหนดเป็นแนวทาง
                               ิ
                  ในการปฏิบัติ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ความรู้เป็นปัจจัยส าคัญที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
                  การพัฒนา เป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตามอัธยาศัย (Informal learning learning)


                                      กำรวิจัยชุมชน/พัฒนำควำมรู้บนฐำนกำรแสวงหำค ำตอบโดยชุมชน
                                         การใช้กระบวนการวิจัยอย่างมีส่วนร่วม

                  นักวิชาการ นักพฒนา และชุมชน กระตุ้นให้ชุมชนตั้งโจทย์ รวบรวม
                                 ั
                  ข้อมูล ท าความเข้าใจข้อมูลร่วมกัน ออกแบบแนวทางในการแก้ไขปัญหา

                  ปฏิบัติการตามแผนที่ก าหนด สรุปบทเรียนการด าเนินงานเป็นระยะ ๆ

                  และประมวลผลค้นหาค าตอบ ได้เป็นความรู้ใหม่ของชุมชน และเป็นความรู้
                  ที่ใช้ในการพัฒนาชุมชน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54