Page 52 - รายงานผล
P. 52
3. กรมทรัพยากรธรณี
ผู้ตรวจราชการกระทรวงฯ (นายนพพล ศรีสุข) ตรวจราชการกรมทรัพยากรธรณี จ�านวน 3 ครั้ง เป็นการตรวจติดตาม
หน่วยงานส่วนกลาง จ�านวน 1 ครั้ง และ ตรวจหน่วยงานส่วนภูมิภาค จ�านวน 2 ครั้ง ในจังหวัดขอนแก่นชัยภูมิ และ
นครราชสีมา ได้ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์กับหน่วยงานทั้งหมด จ�านวน 11 ข้อ โดยหน่วยงานได้รายงานผลการ
ด�าเนินงานตามข้อเสนอแนะครบถ้วน และน�าข้อเสนอแนะไปด�าเนินการแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามตัวอย่าง ดังนี้
ปัญหำ / ข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะผู้ตรวจรำชกำรกระทรวงฯ และผลกำรด�ำเนินงำนตำมข้อเสนอแนะ
ขาดแคลนบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ทธ. มีภารกิจส�าคัญตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
นโยบายและแผน ด้านความมั่นคงและด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ
ข้อเสนอแนะ : สร้างเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยเพื่อบรรจุ ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในการป้องกันธรณีพิบัติภัย
หลักสูตรการฝึกปฏิบัติงานด้านธรณีวิทยาเป็นหลักสูตร และการกัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งปัจจุบันยังไม่ได้รับการบรรจุ
Training ให้นักศึกษาธรณีวิทยาได้ฝึกงานในการปฏิบัติจริง ในแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงฯ
มีประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ในสายอาชีพ และทธ. ข้อเสนอแนะ : ให้ ทธ. จัดท�าข้อมูล เหตุผล/ความจ�าเป็น
มีบุคลากรช่วยในการติดตามตรวจสอบเครื่องมือที่ติดตั้ง ในการด�าเนินการป้องกันธรณีพิบัติภัยและการกัดเซาะ
ในพื้นที่ ชายฝั่งเสนอกระทรวงฯ ผ่าน กยผ. เพื่อขอรับการพิจารณา
ผลการด�าเนินงานตามข้อเสนอแนะ : ทธ. ได้รับ ผลักดันให้บรรจุอยู่ในแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงฯ
นักศึกษาฝึกงานเพื่อเข้าร่วมฝึกประสบการณ์ทั้งด้าน ผลการด�าเนินงานตามข้อเสนอแนะ : ทธ. ได้น�าเสนอ
วางแผนชุมชน การกัดเซาะชายฝั่ง การจัดการข้อมูลดินถล่ม แผนงานการส�ารวจศึกษาธรณีสัณฐานและการกัดเซาะ
ฯลฯ โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาจากหลายสถาบัน เช่น ชายฝั่ง รวมทั้งแผนงานส�ารวจแหล่งทรัพยากรธรณีในทะเล
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2563-2565 ให้ ปยป.ทส. รับทราบเพื่อพิจารณาบรรจุ
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา มาทดลองฝึกปฏิบัติงาน เข้าแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
เพื่อเรียนรู้ระบบการท�างานภาคราชการ สิ่งแวดล้อมแล้ว
วิเคราะห์จุดร่วมที่สะท้อนความส�าเร็จจากการตรวจราชการ
ทธ. สามารถบูรณาการการท�างานเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้เป็น
อย่างดี เช่น ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยรับนักศึกษาฝึกงานด้านธรณีวิทยาซึ่งท�าให้กรมมีบุคลากรช่วยในการปฏิบัติงานต่าง ๆ
และในขณะเดียวกันนักศึกษาผู้ฝึกงานก็ได้ประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ในสายอาชีพ จัดประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น
จัดท�าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการอนุรักษ์และจัดการแหล่งทรัพยากรธรณีอย่างมีส่วนร่วม ให้ประชาชนมีโอกาส
ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ในด้านธรณีวิทยา ทรัพยากรธรณี และธรณีพิบัติภัย
ส่งผลให้ ทธ. สามารถขยายองค์ความรู้ด้านธรณีวิทยาออกไปได้อย่างกว้างขวาง ส่งผลให้ประชาชนเกิดความ
ตระหนักเห็นคุณค่าทรัพยากรธรณีและร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรณี
จุดร่วมที่สะท้อนความส�าเร็จประการหนึ่งคือ การให้ความรู้และการสร้างเครือข่ายในเรื่องธรณีวิทยา เพื่อ
เป็นหูเป็นตาสอดส่องในการเฝ้าระวังธรณีพิบัตภัย
38